คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนกรกฎาคม   ปีงบประมาณ 2564

 

72

 

 

54

 

 

18

 

 

 

1. ร่างแนวปฏิบัติ Sandbox Safety Zone in School ปลัดฯ เห็นชอบตามที่เสนอ ขอให้ทำโดยเริ่มจาก ร.ร.ประจำ และ ร.ร.นานาชาติก่อน เพราะทำ bubble & Seal ได้ ส่วนร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ ให้ทำใน phase ถัดไป ถ้าสามารถทำได้เหมือนร.ร.ประจำจึงค่อยทำ

กลุ่มวัยเรียนวัยรุ่น

 

 

2. ประสานกับมท. นำรายชื่อผู้สูงอายุที่เกิน 60 ปี เข้าระบบ นำข้อมูลของสป.จาก Data Health Center ที่คัดกรองผู้สูงอายุ ที่เป็นโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ซึ่งมีฐานอยู่นั้น มา mapping 

สอส

 

 

3. ขอให้พิจารณาข้อสั่งการเดิมที่กำหนดให้ ทุกศอ.ต้องมองหาชุมชนที่มีความเสี่ยงที่ศอ.ต้องลงไปทำ CI ตามที่ทีม HL เขียนไว้ ขอให้ผอ.ทุก ศอ.ต้องกำชับว่าในจังหวัดต่างๆ ที่จะไปขับเคลื่อนรูปแบบของกรมอนามัยนั้น ขอให้มีอย่างน้อยศอ.ละ1 CI และให้ลงไปปฏิบัติการโดยใช้เครื่องมือของกรมอนามัยอย่างครบวงจร

ศอ.ทุกเขต

 

รับทราบ

4. การวิเคราะห์สถานการณ์และมาตรการป้องกัน COVID 19 ในร้านจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม

1) ประสานสายคนด้านระบาด (ผู้ทรงฯ กิตติพงศ์และทีมงาน) ผู้แทนของ ศอ. โดยเฉพาะแถบกทม.และปริมณฑล ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติ มาช่วยให้ความเห็นและดูความเหมาะสมในการนำไปปฏิบัติ.(practical) และเชิญ กองระบาดฯ หรือผู้ทรงฯ กรมควบคุมโรค หารือ เพื่อดูโทน จังหวะของสถานการณ์ และหารือกับผู้ประกอบการโดยแยกเป็น 2 กลุ่มคือ สมาคมภัตตาคาร และชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารรายย่อยด้วยในข้อมูลที่เตรียมการไว้ เช่น ถ้ามีสัญญาณว่าจะผ่อนคลาย ข้อมูลเราก็จะได้สนับสนุนในการ reopen บางส่วนหรือผ่อนคลายได้อย่างปลอดภัย แต่ถ้าสถานการณ์ตึงตัวก็ไม่เหมาะที่จะไปเสนอให้ผ่อนคลาย อาจต้องเสนอให้เคร่งครัดมากขึ้นแทนแต่ประเด็นคือจะเข้มงวดที่จุดไหน

2) ให้ rewrite เนื้อหาที่นำเสนอมาอย่างละเอียดนั้น ให้เป็นหมวดหมู่ อ่านง่าย เรียบเรียงให้กระชับขึ้น และดูความถูกต้องของถ้อยคำหน่วยงาน เพื่อที่เมื่อได้จังหวะที่จะต้องไปนำเสนอจะได้พร้อมและสื่อสารไปได้เลย

3) มอบ HL และศูนย์สื่อสารฯ ทำข้อมูลที่สอน.เสนอเป็น graphic หรือ version ที่เหมาะสำหรับสื่อสารกับประชาชน หรือผู้ประกอบการร้านอาหาร ให้เข้าใจได้ง่าย เตรียมไว้

สอน. โดย

รองฯดนัยกำกับ

 

 

5. การยกระดับมาตรการเข้มข้นป้องกันการแพร่ระบาด COVID 19 ในตลาด

1) ร่วมกับผู้ประกอบการตลาด และตัวแทนผู้ปฏิบัติ คือ สสจ. อปท. ให้ช่วยพิจารณา เนื่องจากตอนนี้ มีหลายตลาดปิดดำเนินการ และมีหลายตลาดที่มีผู้ติดเชื้อแต่ก็ยังเปิดดำเนินการแต่มีการควบคุม กำกับอยู่ และมีหลายตลาดที่เปิดบริการโดยปกติ โดยให้ทบทวนและดูสิ่งที่เราจะดำเนินการนี้ในส่วนของจังหวะที่จะ เน้นหนัก ยกระดับ หรือผ่อนคลาย

2) ให้ rewrite เนื้อหาข้อมูล โดยร่วมกับผู้ปฏิบัติ โดยเฉพาะสสจ. ศคร.เขต 4 และจังหวัดที่มีปัญหาตลาดส่วนใหญ่ มาช่วยดูการ rewrite ก่อนนำเสนอตามลำดับและนำเข้า สปก.ศบค.สั่งการ เพื่อถือปฏิบัติต่อไป

3) มอบ HL และศูนย์สื่อสารฯ รับไปเตรียมการสื่อสารกับผู้ประกอบการตลาด ผู้ปฏิบัติในการควบคุม กำกับ ประชาชน และกลุ่มคนที่ทำงานในตลาดและที่อยู่โดยรอบ

4) ประเด็นของ 3 ตลาดค้าส่งขนาดใหญ่ ตัวมาตรการภายใต้ประกาศฯ ของจังหวัด ปทุมธานี และราชบุรี ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรรายย่อย บางตลาดปิดถึงวันที่ 2 ส.ค. และมีที่กำลังพิจารณาว่าจะเปิดหรือไม่ ฝากรองฯ ดนัย และสอน.  ศอ. 4 และ 5 ประสาน ศคร.เขต 4 และ 5 เตรียมการหากจำเป็นต้องเปิดดำเนินการตลาดภายใต้สถานการณ์ระบาดนี้ ในเรื่องของมาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมให้ตลาดยังคงสามารถดำเนินการได้และสามารถควบคุมโรคในระดับที่ทั้งสองจังหวัดสามารถรองรับได้ โดยให้เร่งดำเนินการ

HL+ ศูนย์สื่อ

สอน.

 

 

1.นำเสนอมาตรการการให้บริการจัดส่งอาหาร (Delivery) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID 19 โดย สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

2.นำเสนอข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ Riders จาก 3 บริษัท โดย สำนักส่งเสริมสุขภาพ

3.เสนอให้สอน.ปรับแก้ข้อความในมาตรการสำหรับพนักงานจัดส่งอาหาร ในข้อจัดหากล่องบรรจุอาหารท้ายยานพาหนะฯ ให้เพิ่มข้อความต้องมีการทำความสะอาดทุกวันหลังให้บริการทุกวัน” และเนื่องจากเนื้อหาขัดแย้งกัน (ตรวจสอบคุณภาพอาหารทันทีหลังได้รับจากร้านอาหาร กับ ห้ามเปิดกล่องบรรจุอาหารจนกว่าจะถึงมือผู้สั่งซื้อฯ) และในส่วนมาตรการสำหรับผู้สั่งซื้อ แก้ไขจาก “เลี่ยงการสั่งอาหารจากกลุ่มเสี่ยง” เป็น “เลี่ยงการสั่งอาหารประเภทเสี่ยง” และ การทำความสะอาดถุง หีบห่อก่อนเปิด ควรมีคำแนะนำ เช่น ไม่ควรฉีดพ่นด้วยแอลกอฮอล์และคอรีน เป็นต้น (ผู้ทรงฯ สิริวรรณรับไปดูให้)

4.เสนอให้สอน.จัดทำเป็นมาตรการหลัก มาตรการเสริม และตามข้อเสนอในที่ประชุม STAG ที่ให้ยกระดับมาตรการ

5.ให้คนซื้อตรวจสอบพนักงานได้จากการประเมินสถานประกอบการใน TSC โดย review สถานประกอบการ

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

 

หน่วยงานรับทราบ

เสนอกรมอนามัยควรกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำต้องมีการคัดกรอง TST ถัดมาต้องมีการฉีดวัคซีน โดยต้นทางคือร้านอาหารเป็นผู้ตรวจสอบให้ rider ทำ และปลายทางคือผู้ซื้อตรวจด้วย หากพบว่า rider ไม่สะอาด ไม่สวมแมสก์ ให้ประชาชนร้องเรียนได้ รวมถึงการทำคัดกรอง TST ให้บริษัทตรวจสอบให้ rider ต้องทำคัดกรอง คนที่ทำก็จะได้ขึ้นประกาศรายชื่อ และให้ order กับคนที่ทำ คนที่ไม่ทำก็ไม่ให้ได้รับ order เป็นต้น

กรมฯ และ สอน.

 

หน่วยงานรับทราบ

จาก ข้อมูลมี rider อยู่สามแสนกว่าคนเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่มีrider ติดเชื้อ ข้อเท็จจริงบริษัทมีพนักงานประจำส่วนหนึ่ง ซึ่งจะได้รับการดูแล แต่ส่วนที่เป็น freelance ไม่ได้รับการดูแล เสนอแนะให้ร่วมมือapproach สักบริษัทหนึ่งตรวจ test kit แบบรวมในหลอดเดียวกับ rider เฉพาะจำนวนหนึ่งที่สมัครใจ นำร่องจัดระบบแยกคนทำดีเด่นออกจากกลุ่มทั่วไป ตรวจแล้วช่วย promote ให้ว่าบริษัทนี้ดำเนินการแบบนี้ (ทำ TSC และตรวจ test kit) แล้วปลอดโควิด (Free COVID) ต้องใช้กลไกและการตลาดช่วย และให้มาอยู่บน platform กรม เพราะเราต้องการข้อมูลและนำร่อง เราอาจเริ่มก่อนโดย support บางส่วน เขาบางส่วน เช่น เราให้ชุดทดสอบที่ราคาถูกลง โดยให้เขาไปตรวจเอง ให้ดำเนินการได้เลยสัก 1 – 2 สัปดาห์ น่าจะได้คำตอบโดยให้มารายงานผลว่ามาตรการสัมฤทธิ์ผลหรือไม่ (คือลดความเสี่ยงทั้งผู้ซื้อและ rider) มอบรองฯ ดนัย (ดูสายสิ่งแวดล้อม) และ รองฯบัญชา (ดูคนวัยทำงานและ TSC) ช่วยsupport รองฯ ดนัยด้วย

รองฯ ดนัย +รองฯบัญชา

 

รับทราบ

1 การขับเคลื่อน Community Isolation โดย กองแผนงาน

1) ให้ศอ. รวบรวมรายชื่อ CI ในพื้นที่และนำมาขึ้นทะเบียนในระบบ TSC คัดกรองมาตรฐานเพื่อให้การสนับสนุนต่อไป และเพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่ามี CI อยู่ที่ไหนบ้างและไปใช้ แต่ถ้าไม่มีจะได้เป็นข้อมูลให้พื้นที่/ท้องถิ่นไปจัดตั้งต่อไป

2) ระบบใหญ่ซึ่งอาจต้องลงไปในพื้นที่ต้องเริ่มจากข้อมูลประชากรก่อน ต้องรู้ว่าประชาชนคนไหนไม่มีที่อยู่ ที่แยก เพื่อให้มีข้อมูลให้แก่ผู้นำชุมชนหรือ อปท. แล้วไปทำมาตรฐานตามวิธีการต่อไปครบขั้นตอน

ศอ.ทุกเขต

 

หน่วยงานรับทราบ

- มอบศอ. สำรวจ รวบรวมข้อมูล CI ที่ดี มีการดำเนินการ Connect เข้ามาที่ส่วนกลาง และเชื่อม platform เพื่อจะได้มีรูปแบบกำหนดแนวทางให้ชุมชนไปปรับใช้ เนื่องจากแต่ละภาคมีรูปแบบต่างๆกัน

- มอบศูนย์สื่อฯ ทำคลิปสั้น 1-2 นาที แบ่งเป็นตอนๆ โดยคนที่ปฏิบัติจริง เช่น หลวงพ่อที่วัดแสมดำ เป็นตัวอย่างให้วัดอื่นนำไปทำตาม ทำหลายๆรูปแบบ เช่น ชุมชนมุสลิม และรูปแบบของแต่ละภาคให้ครบทุกภาค

- มอบกองแผนงาน (โดยรองฯ บัญชาช่วยกำกับ) ในการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ ในกทม. ที่รมช.มอบหมายมา มอบรองฯ อรรถพลดูเรื่องสถานที่ และจัดคน 1-3 คนลงไป (โดยสล.ดำเนินการจัดหาสถานที่)

- การ Empower community เป็นโอกาสที่ให้ชุมชนรวมกลุ่มกันมาอยู่บน platform

- มอบรองฯ ดนัย ในการประสานกับสถ. โดยให้ผนวกงานด้านคนเข้าไปด้วยกับงานด้านสิ่งแวดล้อม

- มอบรองฯ สราวุฒิ ศูนย์สื่อฯ และ HL ในการสร้างความรอบรู้แก่ คนที่กลัว ได้แก่คนทำ คนที่เข้ามาอยู่ คนรอบ CI  เชื่อมกลไกภาคส่วนประชาสังคม

ศอ.ทุกเขต

 

ศูนย์สื่อฯ

 

 

กองแผนงาน

รองฯ อรรถพล+สล

 

รองฯ ดนัย

 

รองฯสราวุฒิ ศูนย์สื่อฯ และ HL

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

หน่วยงานรับทราบ

 

รับทราบ

 

รับทราบ

 

รับทราบ

 

 

รับทราบ

ในบริบทแบ่งเป็น กทม. ปริมณฑล และพื้นที่อำเภอ ตำบล ซึ่งมีระดับในการร่วมทำงานด้วยต่างกัน เราทำแนวทาง (ไม่ใช่มาตรการ) ดังนั้นต้องเขียนเป็น step ให้ไปประยุกต์ปรับใช้เอง  โดยบอกว่ามีสิ่งสนับสนุนอะไรให้ ต้องแก้ปัญหาคอขวด เช่น ความต้องการยา อาจต้องขอบุคลากรจากกรมการแพทย์ สปสช. ฯลฯ มาช่วยในการเปิดระบบ โดยอาจให้เป็นอนุกรรมการฯ ของกรม โดยทำงานแบบยุทธศาสตร์  มอบกองแผนงาน

กองแผนงาน

 

 

รับทราบ

จากการประชุมอนุกรรมการแม่และเด็ก มีการพูดถึงกรณีหญิงตั้งครรภ์เสียชีวิต จึงเห็นว่า CI ต้องดูแลหญิงตั้งครรภ์เป็นพิเศษจากคนทั่วไป จึงสั่งการให้สำนักส่งเสริมสุขภาพเกาะติดเรื่องนี้ และให้เชิญผู้เชี่ยวชาญ เช่น อาจารย์ พี่ๆข้างนอกที่อยากช่วยมาร่วมด้วย

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

 

 

รับทราบ

กำหนดวาระที่จะเสนอเรื่องผู้สูงอายุในที่ประชุมกระทรวง มอบรองฯ อรรถพล เตรียมการนำเสนอ โดยเลือกเฉพาะบางประเด็นไป stamp ใน EOC กระทรวง

รองฯ อรรถพล

 

 

รับทราบ

มอบกองแผนงาน ติดตามให้ศอ. ดูเรื่อง การลงทะเบียน, check list , Feed back  เพื่อจะได้ปรับ version ไปก่อน

กองแผนงาน

 

 

หน่วยงานรับทราบ

ให้ศอ.ช่วยสำรวจและส่งรายชื่อ ศอ.ประชาสัมพันธ์ว่า CI เหล่านี้ยังขาดส่วนไหน เพื่อจะได้ให้หน่วยงานมาช่วยเหลือ โดยให้สำรวจมาคร่าวๆก่อน ซึ่งจะให้กองแผนงานทำ excel ไว้ก่อน แล้วคุยกับ IT อีกที มอบรองฯบัญชาและกองแผนงาน ตามเรื่องและ Feed back จากศอ. เพื่อนำมาพัฒนา

ศอ.ทุกเขต

รองฯบัญชา+กองแผนงาน

 

หน่วยงานรับทราบ

รับทราบ

การขับเคลื่อน CI จะทำไม่ได้ ถ้าขาดอาวุธ ได้แก่

  1. วิชาการ ทั้งในด้านเชิง setting กลุ่มวัยต่างๆ
  2. สิ่งที่ CI ทำเองไม่ได้ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากเรา ได้แก่ ยา อุปกรณ์การแพทย์ อุปกรณ์ป้องกันโรค ชุดตรวจ (โดยเราไม่ได้ไปทดแทนสปสช. แต่ไปช่วยปิด gap ในส่วนที่เป็นคอขวดอยู่ และต้องไปทำให้ สปสช.เอาลงไปให้ได้) ดังนั้นต้องหาของเหล่านี้ไว้ให้พร้อมเพื่อให้ CI ได้มีใช้ไปก่อน ให้เป็น home use เช่น pulse- oxymeter โดยใช้ ทีมสสม. สว. สล. และ logistic
  3. สำนักส่งเสริมสุขภาพ ซื้อชุดจัดสรรให้เด็กโดยต้องเปลี่ยนเป็นกล่องสำหรับเด็กติดเชื้อไว้ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น HI จะจัดเป็น box set ส่วน CI จะจัดแยกส่วนออกมาเพราะบางอย่างใช้รวมกันได้
  4. ในเรื่องสถานที่ คน ที่จะให้ตั้งศูนย์ประสาน call center มอบรองฯ อรรถพล เตรียมสถานที่และคนให้พร้อมไว้

5. Digital ที่ทำกับ สถ. ช่วงนี้ก็ดำเนินงานปกติต่อไป งบปี 65 ถ้าร่วมมือกับสถ. ปกครอง (ทะเบียนราษฎร์) ทำ Health book โดยทำ MOU ร่วมกัน ทำข้อมูลให้เขาเชื่อมโยง ให้ตัวบุคคลมี book (digital) โดยเริ่มจาก แม่และเด็ก ตามด้วย กลุ่มสูงอายุ แล้ววัยเรียน

ทีมวิชาการ+หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

สสม. สว. สล. Logistic

 

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

 

รองฯ อรรถพล

 

แม่และเด็ก  สูงอายุ วัยเรียน

 

 

 

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

หน่วยงานรับทราบ

 

รับทราบ

 

หน่วยงานรับทราบ

เตรียมการสำหรับ reopening สำหรับสถานประกอบการต่างๆ ซึ่งจะทำกับตัวคน ไม่ให้ยึดติดกับการเชื่อมระบบข้อมูล เพราะข้อมูลอยู่ที่ตัวคน ดังนั้นต้องทำให้ข้อมูลที่อยู่ในมือคนแปลงเป็น digital, ID การพิสูจน์ตัวคน ยังคงใช้แนวคิด QR ให้ดำเนินการนำร่องไปได้เลย เช่น ในการจัดกีฬา จะทำอย่างไรที่จะให้มีdigital pass หรือส่วนที่ให้เข้าได้เฉพาะคนที่มี certificate โดยสามารถเริ่มจากในส่วนที่มีความพร้อม แต่ต้องคิดให้เสร็จและทำให้สำเร็จ ซึ่งเราทำเพื่อให้สามารถเข้า (entry) setting ต่างๆได้ เช่น ที่ทำงาน ร้านอาหาร fitness มหกรรมกีฬา ซึ่งรองฯบัญชาได้แจ้งว่า ได้จัดประชุมเครือข่าย ลานสกา shopee ดรีมทีม STAG จะทำระบบentry สถานประกอบการ โดยจะทำ platform มี ID  PCR vaccine ฯลฯ บางกิจกรรม เช่น คอนเสิร์ต  มีระบบสแกน passport เข้างาน ซึ่งทำต้นแบบเสร็จแล้ว โดยเบื้องต้นมีแค่ฉีดวัคซีน แต่จะขยายต่อไป ซึ่งอธิบดีสนใจการใช้งานกับกิจกรรมคอนเสิร์ต

มอบกองประเมินฯ รับโจทย์เบื้องต้นในส่วนการจัด event ไปดำเนินการ

กองประเมินฯ

 

หน่วยงานรับทราบ

1.1 ปรับตัวเลือกในแบบสำรวจเรื่องการสวมหน้ากากในห้องน้ำ โดยเพิ่มข้อยกเว้นขณะอาบน้ำ

1.2 ให้ทีมครอบครัวรอบรู้ วิเคราะห์เลือกพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายที่จะจัดกิจกรรมรณรงค์สวมหน้ากากในบ้าน เช่น เฉพาะพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง (สีแดงเข้ม) หรือครอบครัวที่มีคนประเมินแล้วพบว่าเสี่ยงสูง รวมทั้งจะสื่อสารอย่างไรให้ประชาชนสามารถทำได้จริง

1.3 ให้ทีมครอบครัวรอบรู้ ออกแบบแนวทางปฏิบัติที่สามารถทำได้ ไปจนถึงทำไม่ได้ตามข้อจำกัดที่มี เช่น บ้านมีพื้นที่น้อย หรือมีห้องเดียว เป็นต้น

ทีมอนามัยโพล

 

 

 

 

ทีมครอบครัวรอบรู้

 

 

 

 

 

 

2.1 จัดทำมาตรการจัดการศพผู้ติดเชื้อโควิดที่นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา ทั้งในกรณี 1) เสียชีวิตนอกสถานพยาบาล ต้องมีการเก็บศพ และเมื่อเก็บแล้ว ต้องหาที่สำหรับทำพิธีกรรมทางศาสนา และกรณี 2) เสียชีวิตในสถานพยาบาล ต้องมีการนำไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ทั้งนี้ให้นำเสนอในการประชุม EOC กระทรวงสาธารณสุข ในสัปดาห์หน้า

2.2 ให้จัดทำ check list เรื่องการจัดการศพผู้ติดเชื้อโควิดตามมาตรฐาน เพื่อให้วัดสามารถนำไปปฏิบัติได้ 

2.3 ประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลวัดที่รับฌาปนกิจผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่อยู่ในระบบ TSC+ และสร้างแรงจูงใจให้วัดต่างๆ เข้ามาอยู่ในระบบมากขึ้น

2.4 ให้สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งรายชื่อผู้รับผิดชอบให้กองแผนงาน เพื่อประสานงานจัดทำฐานข้อมูลร่วมกับกระทรวง DE

นายแพทย์ดนัย ธีวันดา

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
3. จัดทำข่าวจากผลการสำรวจอนามัยโพล ประเด็น “ครอบครัวท่านจะเข้าร่วมกิจกรรมสวมหน้ากากในบ้านลดโรคทั่วไทย เป็นเวลา 14 วัน ได้หรือไม่” ซึ่งจากผลการสำรวจพบว่าจะเข้าร่วมร้อยละ 68

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

   
4. ประเมินผลจากการดำเนินงานตามมาตรการ GFP ว่าหลังจากที่ทำเป็นอย่างไร (ทำแล้วได้ผลหรือไม่ ทำแล้วผลเป็นอย่างไร) เพื่อนำวิเคราะห์มาตรการว่าควรจะยังมีอยู่ หรือต้องยกระดับมาตรการ

คลัสเตอร์วัยทำงาน

   

5.1 Community Isolation (CI)

  • ให้กรมอนามัยคัดเลือกคนที่จะเป็นผู้ประสานงานกับศูนย์ประสานงาน Community Isolation
  • ให้ทุกคนช่วยกันเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารดีๆ จากความร่วมมือกันในการปฏิบัติการลงพื้นที่ช่วยเหลือประชาชน เพื่อสร้างการรับรู้
  • ให้หมุนเวียนบุคลากรทั้งจากส่วนกลางและศูนย์อนามัย มาร่วมปฏิบัติภารกิจ CI และสนับสนุนพื้นที่ในการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่

5.2 มาตรการผ่อนคลายร้านอาหารในห้างสรรพสินค้า ให้ review หาข้อมูลสถานการณ์การติดเชื้อในร้านอาหารที่ผ่านมาว่าพบติดเชื้อในกลุ่มไหนบ้าง เช่น การติดเชื้อในกลุ่ม Rider เป็นอย่างไร สาเหตุการติดเชื้อ ติดจากไหน (จากการส่งอาหาร หรือการใช้ชีวิตประจำวัน) และ factor อื่นๆ เช่น การฉีดวัคซีน (จากหมอพร้อม) ประวัติการตรวจหาเชื้อโควิด ทั้งนี้ให้วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการผ่อนคลายมาตรการของร้านอาหารต่อไป

5.3 บุคลากรกรมอนามัย

  • ให้กองการเจ้าหน้าที่จัดทำมาตรการการปฏิบัติสำหรับบุคลากรตามความเสี่ยงระดับต่างๆ และให้ศูนย์สื่อสารสาธารณะสื่อสารให้หน่วยงานต่างๆ ของกรมอนามัยรับทราบ เข้าใจและปฏิบัติได้ถูกต้อง
  • ให้ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย จัดหาตู้ positive pressure สำหรับเก็บตัวอย่าง (swab หาเชื้อ) และให้บุคลากรศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัยเรียนรู้เรื่องการ swab หาเชื้อ โดยประสานสถาบันบำราศนราดูรมาให้ความรู้

5.4 HL

  • ให้ทีม HL บูรณาการกับทีมศูนย์ CI เรื่องการลงพื้นที่ช่วยชุมชน
ให้เก็บภาพถ่ายการลงพื้นที่ทำทำกิจกรรมกับประชาชน (ภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่ง) และจัดทำคลิปสร้างกำลังใจ สื่อสารส่งต่อคลิปเพื่อสร้างการรับรู้ 

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

ทีมปฏิบัติการ CI

ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

 

นายแพทย์ดนัย ธีวันดา

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

 

 

 

กองการเจ้าหน้าที่

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย

 

 

 


ทีม HL

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
การจัดสรรบัตรน้ำมันให้กับหน่วยงานส่วนกลางและภูมิภาค
- บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) บริจาคน้ำมันเชื้อเพลิงมูลค่า 1,000,000.-บาท โดยจัดสรรเป็นบัตรเติมน้ำมันให้กับหน่วยงานส่วนกลาง จำนวน 175 บัตร มูลค่า 350,000.-บาท คิดเป็นร้อยละ 35 ส่วนภูมิภาค จำนวน 65 บัตรมูลค่า 650,000.-บาท คิดเป็นร้อยละ 65 
ทั้งนี้ ขอให้ทุกหน่วยงานมีการใช้บัตรเติมน้ำมันในการปฏิบัติงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการผู้บริจาค พร้อมทั้งถ่ายภาพกิจกรรมและรายงานส่งให้สำนักงานเลขานุการกรมทุกเดือน เพื่อรายงานผลให้บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ทราบ

สำนักงานเลขานุการกรม

ทุกหน่วยงาน

  หน่วยงานรับทราบ
โครงการยกระดับมาตรการป้องกันโรคกลุ่มวัย และมาตรการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน จากการระบาดของ COVID – 19 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (งบกลาง รอบ 3)

- วัตถุประสงค์เพื่อยกระดับมาตรการป้องกันโรคของแต่ละกลุ่มวัยและกลุ่มเปราะบาง สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่กทม.และภูมิภาคในการดำเนินการแยกกักโรค (HI – CI) เตรียมพร้อมเปิดประเทศ และสร้างการรับรู้ให้ประชาชนป้องกัน ดูแลตนเอง และครอบครัวได้

- ภาพรวมงบประมาณ 80,003,400.-บาท เป็นงบดำเนินงาน 72,873,500.-บาท งบลงทุน 7,129,900.-บาท คาดว่างบกลางรอบ 3 จะมาในช่วงเดือนกันยายน 2564

ประธานเน้นย้ำการเขียนกิจกรรมในการของบกลางรอบ 3 ให้ปรับถ้อยคำ ประโยค ให้สามารถยืดหยุ่นการใช้งบประมาณของกรมอนามัย กับงานทุกกลุ่มวัยและสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับสถานการณ์จริง โดยจะต้องเตรียมหลักฐาน เอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับรายการวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่จะต้องมี Spec  TOR ใบเสนอราคา ให้พร้อมยื่นต่อสำนักงบประมาณเมื่อร้องขอ

รองอธิบดีกรมอนามัย

ทุกหน่วยงาน

กองแผนงาน

  หน่วยงานรับทราบ

การสร้างความรอบรู้ “ครอบครัวรอบรู้ อยู๋กับโควิด 19”

- เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในประเด็นโควิด 19 ให้แก่ประชาชนกลุ่มเปราะบาง ในกทม.และปริมณฑล  ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อร่วมช่วยเหลือ ดูแล ป้องกันและลดการแพร่ระบาดอย่างเป็นระบบ

- กิจกรรม Mobile .. ครอบครัวรอบรู้ อยู่กับโควิด 19 มีรถเคลื่อนที่สร้างความรอบรู้ (CI) ประเมินความเสี่ยง TST และ ATK สนับสนุน อนามัย “Health kit” และประสานช่องทางช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง

ประธานให้ข้อเสนอแนะ ให้สร้างกระแส ความจำเป็นที่ต้องมีรถเคลื่อนที่สร้างความรอบรู้ (CI) และเพิ่มจำนวน เพื่อ Advocate ให้เข้าถึง
ประชาชนทุกกลุ่มให้ความรู้ที่ถูกต้องในการป้องกันและดูแลตนเอง สร้างสัญลักษณ์ (Logo) ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนของสังคม และเชื่อมต่อกับระบบ HI – CI 

ทีม HL

  หน่วยงานรับทราบ
การยกระดับมาตรหลัก มาตรการเสริม มาตรการจำเพาะ

- พบการติดเชื้อซ้ำใน Setting ต่าง ๆ ดังนั้น จะต้องใช้วิกฤติให้เป็นโอการในการยกระดับงานกรมอนามัย โดยเฉพาะมาตรการเสริม ทีม HL ต้องรีบเสนอมาตรการเสริมการดูแลตนเอง โดยเฉพาะในกทม.และปริมณฑล โดยมีสสม.และศูนย์อนามัย ประสานติดตามการดำเนินงานส่วนมาตรการ HI – CI  ของภาคประชาสังคม ต้องดูแลติดตามให้เป็นไปตามระบบสาธารณสุข และมอบรองอธิบดี (นพ.อรรถพล  แก้วสัมฤทธิ์) ประสานเครือข่ายกทม.และปริมณฑล มอบรองอธิบดี (นพ.ดนัย  ธีวันดา) และสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ดูแลการบริหารจัดการผู้เสียชีวิตติดเชื้อโควิด 19 และกระจายศพไปยังวัดต่าง ๆ ตามที่มหาเถระกำหนด

     - ให้มีการเตรียมกิจกรรมรองรับมาตรการ Sandbox และเทคโนโลยีที่เข้ามาใหม่

- ให้มีการดูแล สอดส่อง เคร่งครัด บุคลากรในหน่วยงานของตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อโควิด 19

ทีม HL

รองอธิบดี (นพ.อรรถพล  แก้วสัมฤทธิ์)

รองอธิบดี (นพ.ดนัย ธีวันดา)

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

  หน่วยงานรับทราบ
1.1 ความถี่ของการสำรวจ General Poll ควรปรับเพื่อไม่ให้เป็นภาระเกินไป สำหรับ Event Poll  ควรตั้งประเด็นที่สังคมให้ความสนใจ อยากรู้คำตอบ
1.2 นำข้อมูลอนามัยโพลไปสื่อสาร สร้างคนรุ่นใหม่ให้เป็น Influencers 1-2 คนเพื่อเชื่อมโยงกับอนามัยโพล

ทีมอนามัยโพล

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

 

   
2.1 การสื่อสาร อยู่บ้าน อยู่ห่าง หยุดเชื้อ เพื่อทุกคน ควรมีการพูดคุยกับมืออาชีพด้านการสื่อสาร 
2.2 ปรับการจัดการสื่อสาร ภาคีเครือข่าย RRHL ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคต้องมีการลิงค์และแชร์ข้อมูลแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

HL

   
3.1 การเฝ้าระวังและการดูแลเชิงรุกกลุ่มสูงอายุ การจัดทำมาตรการควรมี 2 กรณี คือ 1)สถานดูแลผู้สูงอายุต้องเป็นพื้นที่ที่คนในห้ามออก คนนอกห้ามเข้า สำหรับคนที่เข้ามาดูแลผู้สูงอายุพักค้างคืนต้องมีการตรวจเชื้อด้วยAntigen Test Kit หรือ RT-CPR  2)สำหรับผู้สูงอายุติดเตียงในบ้านคนในครอบครัวควรดูแลกันเอง แต่ถ้ามี Care Giver ต้องมีแนวทางปฏิบัติที่ทำได้ง่าย
สำนักอนามัยผู้สูงอายุ    
4. ดำเนินการเรื่อง Work From Home ของบุคลากรกรมอนามัย ตามข้อกำหนด ฯ (ฉบับที่ 28) ขอให้ทุกหน่วยงานเร่งรัดดำเนินงานให้ได้ผลงานตามเป้าหมาย สำหรับWork From Home ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้บริหารหน่วยงานสร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ในประเด็นลักษณะงานที่ทำที่บ้านและงานที่ต้องทำกรมอนามัย และเฝ้าระวังภาวะความวิตกกังวลของบุคลากร
กองการเจ้าหน้าที่และศูนย์บริหารกฎหมายฯ    
1. ดำเนินการเรื่อง Work From Home ของบุคลากรกรมอนามัย ตามข้อกำหนดฯ (ฉบับที่ 28) รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติของบุคลากรที่ต้องปฏิบัติงานนอกเคหสถานช่วงเวลา 21.00 – 04.00 น. โดยให้ออกเป็นหนังสือเวียนให้ทุกหน่วยงานรับทราบและปฏิบัติ

กองการเจ้าหน้าที่

   
2. หารือและให้ความเห็นเรื่องมาตรการตลาดที่จะไปเชื่อมโยงกับกรมควบคุมโรค (มาตรการป้องกัน และแผนเผชิญเหตุ)

นายแพทย์ดนัย ธีวันดา

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

ศูนย์อนามัยที่ 4  ศูนย์อนามัยที่ 5

และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง

   
3. นำข้อมูลที่กรมอนามัยเคยนำเสนอที่กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง Home Isolation และผ่านการเห็นชอบในที่ประชุมแล้ว บูรณาการร่วมกับกรมการแพทย์ เพื่อให้เกิดการ implement ในพื้นที่ นำแผนการสร้างความรอบรู้ในครอบครัวที่ผ่านการเห็นชอบในหลักการแล้ว นำไปขับเคลื่อน และ implement อย่างเป็นรูปธรรม

นายแพทย์บัญชา ค้าของ/

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง

ทีม HL

   
4.1 ทบทวนเรื่องการบริหารจัดการ Community Isolation โดยแบ่งเป็นกลุ่มกรุงเทพฯ และกลุ่มต่างจังหวัด 
4.2 ผู้แทนจากศูนย์อนามัยที่ 1 7 และ 12 หารือร่วมกับ Dream team เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับกลไก/partnership/network ระดับพื้นที่ต่อการดำเนินงาน Community Isolation  ในต่างจังหวัด 
4.3 เพิ่มหน่วยงานกรมอนามัย ในประเด็นการบริหารจัดการ Community Isolation ภาพรวม และการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย การสุขาภิบาล (ในฐานะผู้กำกับ) และเพิ่มหน่วยงาน สพฉ. ในประเด็นการดูแล            รับ-ส่งผู้ป่วย

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

Dream team

   
5.1 จัดตั้งศูนย์ประสานงาน Community Isolation ที่กรมอนามัย
5.2 จัดตั้งทีม CI 6 ทีม (เลือก Model 2) โดยสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองเป็นหัวหน้าทีม ทั้งนี้ให้ประสานขอรายชื่อจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาขอกำลังคนจากศูนย์อนามัยเข้าร่วมทีม
5.3 จัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติ โดยนำแนวทางของโรงพยาบาลสนาม และ Local Quarantine มาประยุกต์ใช้ รวมทั้ง empower ให้เจ้าหน้าที่ของกทม.
5.4 การดำเนินงาน แบ่งเป็น 3 กล่อง คือ เตรียมเปิด เปิดดำเนินงาน และ กำกับติดตาม ประเมินผล โดยให้ปรึกษาหารือเรื่องงบประมาณที่จะใช้ 

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง

 

   
6. พิจารณาการสนับสนุนชุด PPE ให้แก่ผู้ขนศพและผู้ประกอบพิธีทางศาสนา ให้มีข้อมติหากไม่มีการสนับสนุนอาจพิจารณาของบกลาง 

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กองแผนงาน/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    รับทราบ
1. อนามัยโพล
1.1 มอบสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม เตรียม Key Message และแนวทางคำแนะนำการจัดการขยะชุมชนที่เกิดจากการใช้ Antigen Test Kit (ATK) ด้วยตัวเอง
1.2 เร่งดำเนินการชี้แจงและสื่อสารความรอบรู้ในการเตรียมครอบครัว กรณีมีที่ผู้ต้องแยกกักตัวอยู่ที่บ้าน (Home Isolation) ทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ การปฏิบัติตัวในการดูแลตนเอง สุขอนามัยในการจัดการบ้านเรือน การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบระบายอากาศ การจัดการขยะติดเชื้อ/สารคัดหลั่ง
1.3 มอบทีมวิชาการ STAG ด้านสิ่งแวดล้อมเร่งจัดทำแนวทางในการปฏิบัติในการจัดการขยะติดเชื้อ โดยเน้น Home Isolation เพื่อการจัดการได้ถูกวิธี

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

 

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ/HL/

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  

 

 

STAG

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
2. งานสื่อสาร
2.1 เร่งสื่อสาร สร้างความรอบรู้และความเชื่อมั่นสำหรับประชาชน “ครอบครัวรอบรู้อยู่กับ COVID-19” ให้มีการเฝ้าระวังในประเด็น (1) วัคซีนในการปรับสูตรการฉีดวัคซีน SV+AZ (2) การใช้ Antigen test kit (ATK) ประสานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อย. ในการ Update ข้อมูลรวมถึง leaflet และให้ประชาสัมพันธ์ สื่อสารความชัดเจนไม่ให้เกิดความสับสน (3) เร่งดำเนินการคู่มือสำหรับประชาชน “ครอบครัวรอบรู้อยู่กับ COVID-19”
2.2 มอบสำนักส่งเสริมสุขภาพสรุปผลจากการประชุม CCRT กับสำนักปฐมภูมิ  แล้วนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมต่อไป

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

HL

 

 

 

 

 สำนักส่งเสริมสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

อยู่ระหว่างดำเนินการ โดยรอประชุมสัปดาห์หน้า โดยรองปลัดกระทรวงฯ เป็นประธาน

3. รายงานการดำเนินงานรองรับสถานการณ์ COVID-19 ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่
3.1 มอบฝ่ายเลขาการประชุมประมวลข้อดีรูปแบบที่ศูนย์อนามัย ดำเนินการได้ดี สำหรับส่วนที่เป็นข้อเสนอแนะกรมและรายงานส่วนที่ดำเนินการแล้ว และยังไม่ได้ดำเนินการ โดยนำเสนอในที่ประชุมภายในวันศุกร์หรือวันจันทร์
3.2 มอบกองแผนงานรับประเด็นการพิจารณาในการพัฒนา TSC+ ตามข้อเสนอแนะของ ศอ.1 ทำแอพลิเคชั่นสำหรับคำแนะนำการใช้เวอร์ชั่นใหม่เปลี่ยนจากเดิมอย่างไร และปรับการค้นหาแนวทางปฏิบัติของสถานประกอบการ
3.3 ทุกหน่วยงานทดลองใช้โปรแกรม TSC+ และ Feedback การใช้งานเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการปรับปรุงระบบโปรแกรม
Liaison/กองแผนงาน
สสม.
 
 
 
 
 
กองแผนงาน
 
 
 
 
 
 
 
ทุกหน่วยงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รับทราบ

4. รายงานความหน้าการเตรียมความพร้อมในการจัดประชุมวิชาการกรมอนามัย ครั้งที่ 14
4.1 มอบทีมวิชาการพิจารณาเทคนิคในการจัดประชุมฯ งบประมาณ และรายงานภายในวันศุกร์
4.2 มติที่ประชุมกำหนดรูปแบบในการจัดประชุมฯ แบบ Hybrid เพิ่ม Online จำกัดขนาดการประชุม Onsite ให้เล็กลง สำหรับสถานที่จัดการประชุมเป็นที่กรมอนามัย
รองอธิบดี สราวุฒิ
สำนักทันตสาธารณสุข

 

 
ดำเนินการแล้ว ดังนี้
1. รูปแบบการประชุมแบบ Hybrid ณ ห้องประชุมกรมอนามัย จำนวน 3 วัน ตามกำหนดการเดิม ลดจำนวนคนเข้า Onsite ไม่เกิน 20 คน/ห้อง ใช้ห้องประชุมทั้งสิ้น 4 ห้อง โดยเลือกห้องที่มีระบบ Web Conference เพื่อรองรับการประชุม Online ในทุก Session เลือก 2 Session ที่ประชาชนสนใจ Live ผ่าน TNN
2. นิทรรศการ จัดแบบ Onsite โดยปรับลดขนาดลงให้เหมาะสมกับพื้นที่
3. มาตรการด้านความปลอดภัย ใช้หลัก DMHTT คัดกรองผ่าน TST และ Vaccine Certification
4. งบประมาณ เดิม 2,350,000 บาท ปรับเหลือ 1,500,000 บาท แบ่งเป็น
   - งบที่ใช้ไปแล้ว 104,775 บาท
   - ประมาณการที่จะใช้ ณ วันจัดงาน 1,400,000 บาท
5. เรื่องอื่นๆ
5.1 มอบ นพ.บัญชา ค้าของ รองอธิบดีกรมอนามัย ร่วมกับสำนักส่งเสริมสุขภาพทบทวนการใช้ Antigen Test Kit (ATK) กับการดำเนินการคัดกรองในสถานประกอบการ
5.2 มอบทุกหน่วยงานติดตามข้อสั่งการที่ดำเนินการแล้วและยังไม่ดำเนิน
5.3 มอบกองแผนงานปรับวาระการประชุมและติดตามการดำเนินงาน แผนระยะสั้น ระยะยาว และสัปดาห์หน้ากำหนดวาระ ประเด็นใหม่เพื่อการเตรียมความพร้อมในระยะ 2-3 เดือนข้างหน้า
5.4 มอบทุกหน่วยเร่งรัดการดำเนินการใช้งบเงินกู้
 
นพ.บัญชา ค้าของ/สำนักส่งเสริมสุขภาพ
 
 
 
ทุกหน่วยงาน
 
กองแผนงาน
 
 
 

ทุกหน่วยงาน 

 

 

-

 

 

 

-

   

-มอบสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำดำเนินการตามข้อเสนอในประเด็นการวิเคราะห์ข้อมูลไปจัดทำมาตรการแนวทางปฏิบัติของตลาดให้ทันต่อเหตุการณ์ ส่งข้อมูลให้ศูนย์สื่อสารสาธารณเผยแพร่และให้ศูนย์อนามัยประสานสมาคมตลาดให้ความสำคัญกับ Thai Stop Covid  รวมถึงการประเมินของประชาชนเพื่อให้เกิดการกระตุ้นอีกระดับ

-ขอให้ยกระดับการดำเนินงานทั้งกลุ่มวัยและSetting โดยพิจารณาถึงผลลัพธ์การดำเนินงานต้องร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องและมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสำหรับใช้วิเคราะห์วางแผนการดำเนินงาน

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/ศูนย์สื่อสารสาธารณะ/

ศูนย์อนามัย

 

 

ทุกหน่วยงาน

 

 

 

 

 

ศส.ดำเนินการประสานกับ สอน.แล้วและอยู่ระหว่างวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำข่าวเผยแพร่ในประเด็นดังกล่าวต่อไป

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

1 ประเด็นของหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเนื่องจากประชาชนเข้าไม่ถึงบริการ ขอให้สำนักส่งเสริมสุขภาพและสำนักอนามัยผู้สูงอายุพิจารณา Care Giver ที่อยู่ในชุมชนดำเนินการ Home Isolation ในพื้นที่

2.มอบศูนย์สื่อสารสาธารณะประชุมเครือข่ายพิจารณาประเด็นการสื่อสาร รูปแบบการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสารให้ทันต่อเหตุการณ์

3.การชวนกลุ่ม influencer Gen Z ร่วมออกแบบและให้ข้อเสนอในการปรับและกำหนดรูปแบบสื่อ

สำนักส่งเสริมสุขภาพ/

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

 

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

 

 ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

 

 

 



 

 


 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

อยู่ระหว่างดำเนินการและทบทวนคำสั่งเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงาน

 

ภายในและภายนอก

1 มอบ HL รับข้อสังเกตและปรับรูปแบบการสร้างการรับรู้ “ครอบครัวรอบรู้อยู่กับ COVID-19”  ในประเด็นตามบริบทของพื้นที่ เช่น ความเป็นเมือง เทศบาลนคร ตามบริบทของพื้นที่ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นสำคัญ

 2. มอบ HL และศูนย์สื่อสารสาธารณะ จัดทำเนื้อหาวิชาการ กลยุทธ์ และการจัดทำสื่อในประเด็น “การอยู่บ้าน อยู่ห่าง หยุดเชื้อ เพื่อทุกคน” เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สำหรับประชาชน

3.ขอให้ทุกหน่วยงาน Standby เพื่อเตรียมความพร้อมในการชี้แจงงบประมาณกลาง เวลา 11.30 น.

HL

 

 

HL/ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

 

ทุกหน่วยงาน

 

 

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

ดำเนินการจัดทำสื่อเผยแพร่เรียบร้อยแล้วและจะนำเสนอใน EOC วันจันทร์ที่

19 กค 2564 โดย ศส.

 

หน่วยงานรับทราบ

1.ประเด็นการแยกกักที่บ้าน ขอให้ตรวจจับประเด็นร่วมทางสังคมที่ขึ้นอยู่กับครอบครัว และสภาพแวดล้อม และพิจารณาหากมีงบประมาณด้านกลุ่มวัย อาจทำกิจกรรมให้สิ่งของช่วยเหลือสร้างสังคมไทยมีน้ำใจเน้นการสื่อสารคำว่าแยกกักคือ Isolation กักกันคือ Quarantine ให้เกิดความชัดเจน

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ/หน่วยงานที่เกี่ยวช้อง    

2. จัดทำคู่มือแนวทาง การเฝ้าระวังและ มอบศูนย์สื่อสารสาธารณะ จัดทำ Infographic สื่อสารประชาชน สำหรับ 3 กลุ่ม ในกรณีของเหตุเพลิงไหม้โรงงานพลาสติก? ดังนี้

      กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่กำลังหาบ้าน/ที่อยู่อาศัย ให้กำหนดคำแนะนำ แนวทางในการพิจารณาหาแหล่งที่อยู่อาศัย

      กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่มีบ้าน/ที่อยู่อาศัย อยู่แล้ว ใกล้โรงงาน ให้กำหนดคำแนะนำ และให้มีความรอบรู้ (HL) ในระดับ 2 ระดับ 3 ให้สามารถอยู่ได้และลดความเสี่ยงกับตัวเองได้

      กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่มีบ้าน/ที่อยู่อาศัย ใกล้โรงงานในพื้นที่ระยะ 1-5 กิโลเมตร มีการเฝ้าระวังอย่างไร

ทีม OP

Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

   

3.1 ทีมงานพิจารณาแนวทางการปฏิบัติงานแบบ WFH  และหารือกำหนดแนวทางในการออกปฏิบัติงานให้มีความชัดเจนเนื่องจากข้อจำกัดการเดินทาง และยกระดับมาตรการการติดเชื้อขององค์กรให้สูงขึ้นเนื่องจากมีผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น

3.2 ให้กำกับและติดตามบุคลากรที่มีความเสี่ยงหรือผู้ประเมิน Thai Save Thai และพิจารณาเกณฑ์การประเมินแบบสำรวจ 

ทุกหน่วยงาน

กองการเจ้าหน้าที่

   

1. วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลผลสำรวจ Anamai Event Poll ประเด็นตลาด และวิเคราะห์การระบาดของตลาด นำเสนอในการประชุม EOC กรมอนามัย

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ศูนย์บริการกฎหมายสาธารณสุข
   

2. แก้ไขคำว่า “สถานที่กักกันของรัฐ” เป็น “สถานที่แยกกัก” ในชื่อประเด็นที่จะสื่อสารเผยแพร่วันที่ 6 ก.ค. 64 เรื่อง “การดูแลสุขภาพเด็กที่ติดเชื้อโควิด – 19 ในสถานที่แยกกัก”

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

   

3.จากกรณีเกิดเหตุไฟไหม้ – ระเบิดโรงงานโฟม – เคมี ที่จังหวัดสมุทรปราการ ทบทวนกระบวนการ/ระบบการทำงาน ระบบข้อมูล (วิชาการและสถานการณ์) และกำลังคน (ศอ.และส่วนกลาง) ต่อการดำเนินงานในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้การดำเนินงานทันต่อสถานการณ์

STAG
   
4. รายงานการสร้างความรอบรู้ในการจัดการความเสี่ยงโควิดในครอบครัว
ให้ทบทวนแนวทางปฏิบัติที่มีอยู่ กรณีต้อง Home Isolation/Home Quarantine (เช่น การแยกรับประทานอาหาร การแยกใช้ห้องน้ำ/ห้องส้วม) 

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

   
5. การดำเนินงานรองรับสถานการณ์ COVID – 19 ศูนย์อนามัยที่ 12
นำข้อมูลการพบผู้ติดเชื้อใน Setting วิเคราะห์ร่วมกับการประเมิน TSC+ และสุ่มประเมิน Setting ที่เป็นเป้าหมายหลัก เช่น โรงเรียน สถานประกอบการขนาดใหญ่ ตลาด ร้านอาหาร โดยให้รวบรวมข้อมูลและ Feedback มายังส่วนกลาง เพื่อวิเคราะห์การเพิ่มมาตรการอื่นๆ
ศูนย์อนามัยที่ 12
   
6. รายงานการดำเนินงานรองรับสถานการณ์ COVID – 19 ศูนย์อนามัยที่ 10 จากข้อสังเกตของศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี จึงสั่งการดังนี้
6.1 ให้พิจารณาข้อคำถามใน Application ประเมินความเสี่ยง ไม่ให้จำนวนคำถามมากเกินไป (ทั้งระดับสถานประกอบการ และระดับบุคคล)
6.2 ให้ใช้ TSC+ เป็นร่มใหญ่ในการประเมิน ครอบคลุมทั้งบุคคล ครัวเรือน ชุมชน และสถานประกอบการ
6.3 ให้กำหนดประเด็นคำถามที่ทันต่อสถานการณ์ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและสื่อสาร

 

 

กองแผนงาน

 

ทีม Thai Stop COVID plus 

ทีมอนามัยโพล

 

 

 

 

 

 

 

 

 
7.1 เรื่องอื่นๆ
7.1 กำหนดวันประชุม EOC กรมอนามัย ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
7.2 ให้วิเคราะห์กรณีที่สถานประกอบการมีการประเมิน TSC+ แต่พบการติดเชื้อ เพื่อหาแนวทางในการป้องกันและเพื่อให้เครื่องมือมีประสิทธิภาพ
7.3 ให้แบ่งกลุ่มบุคลากรของกรมอนามัยตามลักษณะงาน เป็น 2 กลุ่ม (พร้อมจำนวนแต่ละกลุ่ม) ได้แก่ กลุ่มบุคลากรที่ทำงานด่านหน้า และบุคลากรสายสนับสนุน เพื่อพิจารณาเรื่องการฉีดวัคซีน (ตามความสมัครใจ)
7.4 ให้ทุกหน่วยงานคุมเข้มเรื่องมาตรการป้องกันโรคในองค์กร และดำเนินการ Work From Home (ขึ้นกับลักษณะงาน) รวมทั้งกำชับการระมัดระวังตัวในช่วงสถานการณ์ที่ยังมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19

กองแผนงาน

 

ทีม Thai Stop COVID plus

นพ.อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

 

 

 

ทุกหน่วยงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-

 

 

 

 

 

 
  ตรวจจับประเด็น COVID 19 (IWD) ประเด็น “แนะใส่หน้ากากฯ เมื่ออยู่บ้าน ลดการแพร่เชื้อในหลังพบแนวโน้มติดเชื้อ COVID -19 ในครอบครัวสูงขึ้น ร้อยละ 74 ที่ประชุม : ขอให้สำนักสื่อสารสาธารณะสื่อสารการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น สำหรับอนามัยโพล ควรให้ประชาชนได้ให้ข้อคิดเห็น มาตรการทางสังคม ข้อเสนอในเชิงวิถีชีวิต เชิงสังคม  และควรมีการเทียบเคียงกับโพลอื่นๆ เปรียบเทียบในการตั้งคำถาม การได้ข้อมูล  นอกจากนี้ขอให้เปลี่ยนหัวข้อให้เป็นไปตามสถานการณ์และสามารถดำเนินการได้ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ/ศูนย์สื่อสารสาธารณะ  

1) กองประเมินฯ รับทราบ

2) ศูนย์สื่อฯ ดำเนินการสื่อสารเรียบร้อยแล้ว

รายงานสถานการณ์การเกิด COVD-19 ในร้านจำหน่ายอาหารหรือเครื่องดื่ม

ขอให้มีการปรับข้อมูลการนำเสนอแล้วนำมาเสนอในที่ประชุมEOCกรมในสัปดาห์หน้าและให้ทบทวนระบบการนำเข้าข้อมูลผู้ติดเชื้อจากร้านอาหาร

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ    
 

รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานคณะทำงานกลุ่มภารกิจปฏิบัติการ(Operation)ในภารกิจกรมอนามัยที่ได้รับมอบหมาย

เจ้าหน้า?ที่?ลงพื้นที่โรงพยาบาลบุษราคัม  อาคารชาเลนจ์?เจอร์? เมือง?ทอง?ธานี? เพื่อ?เตรียมความพร้อมเปิดพื้นที่?รองรับ?ผู้ป่วยโควิด-19?

เฟส? 3? ทั้งนี้? กรมอนามัย? ได้สนับสนุน?เจ้าหน้าที่?ลงพื้น?ที่? วางแนวทางการจัดการ?ด้านสุขาภิบาล?และ?อนามั?ยสิ่ง?แวดล้อม? ได้แก่ การจัดการมูลฝอย?ทั่วไป มูลฝอย?ติดเชื้อ การจัดการห้องสุขา การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำทิ้งให้ได้มาตรฐานและมีความปลอดภัย สำหรับบุคลากร เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานและผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา  พร้อม?ทั้งสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นด้านสุขอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้โรงพยาบาลบุษราคัม เพื่อให้สามารถรองรับประชาชนที่จะเข้ามารับบริการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ทีม Operation   หน่วยงานรับทราบ
 

รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์และมาตรการ COVID-19 จากต่างประเทศ

ที่ประชุม : เห็นชอบ พิจารณาเพื่อใช้ประกอบในการปรับกลยุทธ์ของกรมอนามัย ขอให้ศูนย์อนามัยประสานกับจังหวัดที่เปิดเมือง พิจารณามาตรการการคัดกรองของคนที่เคลื่อนย้าย Setting ตลาด ชุมชน โรงงาน แคมป์คนงานที่จะเป็นแหล่งการแพร่ระบาดกับกลุ่มเกี่ยวข้องกับต่างประเทศ กอง/สำนักที่เกี่ยวข้องกับ Setting ให้เร่งจัดทำแผน  และขอให้ศูนย์อนามัยที่ 11 ติดตามผลมาตรการการเปิดเมืองในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย  เช่น พฤติกรรม Setting ภายหลัง 2 สัปดาห์

STAG/หน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง/ศูนย์อนามัย   หน่วยงานรับทราบ