คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนกันยายน   ปีงบประมาณ 2564

 

31

 

 

20

 

 

11

 

 

 

 สรุปสถานการณ์ COVID-19

 -ขอให้รณรงค์ สื่อสารการฉีดวัคซีนในหญิงมีครรภ์ ซึ่งยังมีจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฉีดวัคซีนเป็นจำนวนน้อย และยังพบหญิงตั้งครรภ์เสียชีวิตจากโควิด-19  

สำนักส่งเสริมสุขภาพ/กอง HL/ศูนย์อนามัย
-

-

หน่วยงานรับทราบ

 รายงานความก้าวหน้าอนามัยโพล

2.1 ขอให้วิเคราะห์ผลสำรวจพฤติกรรมที่ปฏิบัติตามมาตรการ UP ในแต่ละครั้งของการสำรวจว่ามีพฤติกรรมอะไรที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ถ้าพฤติกรรมใดที่ลดลงขอให้มีการสื่อสารกระตุ้นให้ปฏิบัติเพิ่มขึ้น

2.2 ขอให้วิเคราะห์จำนวนของพฤติกรรมพึงประสงค์รวมของแต่ละบุคคลมีเท่าใดเพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2565 และปรับจำนวนตามความเหมาะสมของสถานการณ์

ทีมอนามัยโพล/กองHL

 

ทีมอนามัยโพล/กองแผนงาน
 

อยู่ระหว่างดำเนินการ

 รายงานกล่องสื่อสาร

3.1 จากข่าวน้ำผุดกลางถนนเชื่อน้ำศักดิ์สิทธิ์แห่ดื่มกิน เน้นย้ำการสื่อสารเรื่องน้ำที่ไม่สะอาด

3.2 จากข่าวเรื่องประสบการณ์สยองพยาธิไชมือจากเล่นดินทรายไม่ล้างมือ มอบกองHL ติดตามและเสนอข่าวในประเด็นการล้างมือ

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

 

 

3.1 ดำเนินการแล้ว

3.2 อยู่ระหว่างดำเนินการ

รายงานมาตรการ COVID Free Setting

4.1 ขอให้กลับไปพิจารณาปรับอย่างรอบคอบ เนื่องจากมติของศบค.มีการเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง เช่น Covid personalกับ Covid Customerที่เหมือนกัน วัคซีน และ การแบ่งกลุ่มแยกประเภท ฯลฯ แล้วนัดหมายผู้เกี่ยวข้องหารือในวันที่ 30 ก.ย.64 ก่อนนำเสนอที่ประชุม EOC กระทรวงสาธารณสุขในวันที่ 1 ต.ค.64 สำหรับSettingที่เคยเสนอในที่ประชุมฯ ไปแล้วให้แสนอดำเนินการไปแล้ว

กองแผนงาน

สำนักกองที่เกี่ยวข้องตาม

 

กองแผนงานดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

5.1 การจัดทำมาตรการCovid Free Setting เพื่อเตรียมการสำหรับวันที่ 1 ตุลาคม 2564 ให้พิจารณาประกาศฯ ของศบค.

5.2 เตรียมทำกิจกรรม/กิจการที่ผ่อนคลายที่ยังไม่ได้เปิดให้เตรียมการไว้ให้เรียบร้อย

5.3 เดือนตุลาคมสถานการณ์จะมีการเปลี่ยนแปลง จะมีการผ่อนคลายเพิ่มขึ้น กรมอนามัยมีหน้าที่ต้องผลักดันให้เกิดการผ่อนคลายอย่างปลอดภัยเพื่อให้เกิดกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจ 

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-

-

หน่วยงานรับทราบ

1.1 หน่วย OP ใช้แนวทางวางแผนปฏิบัติการเดือนตุลาคม 2564 เน้นเปิดกิจการรวมกับควบคุมกิจการตามแผนแนวทางที่กรมฯ กำหนดไว้ นำข้อมูลในการลงพื้นที่สรุปและรายงานผลการดำเนินงานเพื่อปรับแผนในแต่ละเดือน
1.2 สื่อสารนำลงไปเผยแพร่ในพื้นที่ เช่น งานเลี้ยง การชนไก่ ฯลฯ และการสร้างความรอบรู้เรื่องถ้ามีผู้ป่วยจะอยู่อย่างไร

ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12, สสม.
 

 

2. ประชาสัมพันธ์สร้างความรอบรู้ให้กับประชาชน พร้อมสรุปภาพรวมกิจกรรมการดำเนินงานของศูนย์อนามัยในการช่วยเหลือประชาชน และรายงานในการประชุม EOC กรมอนามัย

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กอง HL

 

 

 

3. สื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชน ภายใต้มาตรการ  COVID Free Setting ในประเด็น สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย คนทำงานที่ปลอดภัย คนใช้บริการที่ปลอดภัย

กอง HL

 

 

 4.1 พิจารณาประกาศทั้ง 3 ประกาศ ให้รอบคอบ ปรึกษาหารือกับรองอธิบดีทั้ง 2 ท่าน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองแผนงาน ก่อนนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการสาธารณสุข ในวันที่ 29 กันยายน 2564 

4.2 สร้างความเข้าใจกับผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง

4.3 สื่อสารสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องกับสถานประกอบกิจการ/ผู้ประกอบการ เพื่อบังคับใช้ประกาศกรมอนามัยฯ ในทางที่เหมาะสม

4.4 เร่งส่งข้อมูลวิชาการในประเด็นตลาดส่งให้กับกองกฎหมาย

นพ.บัญชา ค้าของ รองอธิบดีนพ.ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกองกฎหมาย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองแผนงาน

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กอง HL

 

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

 

 

 

 

 

 

 

 
 

 

 

5.1 ให้เสนอการยกระดับมาตรการ MICE: ในพื้นที่นำร่องใน 10 เมือง ภายใต้มาตรการ “COVID Free Setting” ในที่ประชุม PHEOC กสธ. ด้านมาตรการสาธารณสุขในสัปดาห์หน้า และนำเสนอในที่ประชุม ศปก.ศบค. ต่อไป
5.2 ชี้แจงสมาคม/ผู้ประกอบการ/เมือง พร้อมเยี่ยม ติดตามการจัดงานตามมาตรการ COVID Free Setting และประเมินผลเป็นระยะ
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

 

 

6. COVID Free Setting สำหรับกิจการสวนสนุก สวนน้ำ โรงภาพยนตร์ มีประเด็นวิชาการบางประเด็นที่มีความเสี่ยง เช่น สวนน้ำทำให้แน่ใจว่าน้ำมูกน้ำลายไม่ไปทำให้คนอื่นติดเชื้อ  โรงภาพยนตร์อะไรคือความเสี่ยงที่เกิดจากการนั่งนานประมาณ 2 ชม. และประสบการณ์ของต่างประเทศ ปรับเพิ่มเติมสำหรับอาหารและเครื่องดื่มให้เป็นอาหารทานเล่น เครื่องดื่มของแต่ละคน ที่นั่งแบบเดิมเว้น 2 ที่นั่งประมาณ 50%

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

 

 7. หารือกับวิชาชีพ ทันตแพทยสภาในมาตรการปลอดภัย 1. ฉีดวัคซีนครบ 2. ตรวจ ATK ที่ความไว 90% ให้เสร็จภายในสัปดาห์หน้า

สำนักทันตสาธารณสุข

 

 

8. ประธานให้หลักการ 3 ประเด็น 1. สุขภาพของคน 2. สิ่งแวดล้อม 3. การสร้างความรอบรู้ ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พิจารณาส่งข้อมูลภายในวันหยุด 3 วันนี้

สำนักส่งเสริมสุขภาพ
กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
 
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

 

 

 

รายงานอนามัยโพล

1) กรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่แนะนำให้ฉีด ควรมีรายละเอียดว่า เพราะอะไร เช่น มีโรคประจำตัวหรือข้อต้องห้ามใด เพราะหากสื่อสารไปอาจทำให้เกิดการเข้าใจผิด จะเป็นประเด็นความผิดของเจ้าหน้าที่ได้

2) ประเด็นที่ประชาชนไม่มั่นใจในการฉีดวัคซีนถึง 30 % ฝาก HL สื่อสารให้ประชาชนมีความมั่นใจในการฉีดวัคซีนมากขึ้น

อธิบดี : แนะนำให้เล่นเรื่อง วัคซีนในเด็ก เพราะขณะนี้มีปัญหามาก โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มต่ำกว่า 12 ปี ยังไม่มีการขึ้นทะเบียนวัคซีนเลย และกลุ่ม 12 – 16 ปี ที่ยังมีการถกเถียงกันอยู่ในวงนักวิชาการว่าควรจะบังคับหรือไม่
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

 

ดำเนินการเพิ่มเติมรายละเอียดเข้าไปในข้อคำถาม

เรียบร้อยแล้ว

รายงานความก้าวหน้า OP / logistic/ HL

- รายงานของ logistic :

แจ้งว่า ได้จัดส่ง ATK ให้ศอ.แล้ว โดยอยู่ระหว่างที่สปสช.กำลังดึงศอ.และสสม.ออกจากการปักหมุดเพื่อให้ประชาชนไม่สามารถเข้าไปเลือกในการขอรับ ATK ในส่วนของกรมอนามัยได้เอง เพราะกรมมีเป้าหมายเป็น setting ที่กำหนดไว้แล้วซึ่งอยู่ระหว่างดำเนินการ ส่วนศอ.ที่ยังลง App ถุงเงินไม่ได้คือ ศอ. 6 แต่ได้รับ ATK ไปแล้ว สล.จะประสานกับสปสช.ว่ายังมีศอ.ใดที่ยังมีปัญหาในการลง app ไม่ได้ และจะติดตาม ATK ให้สำหรับศอ.ที่ยังไม่ได้รับ เพราะกระจายไปเกือบครบทุกจังหวัดแล้ว

logistic
-

-

logistic
รายงานของ HL
1.ข้อสังเกตว่าการสื่อสารผ่าน social media โดยเฉพาะการขายสินค้าเขาจะไปเกาะเกี่ยวใน comment ของ FB อื่นนอกจากสื่อสารใน FB ของตนเอง แสดงว่าการไปเกี่ยวใน comment มีผลในการสื่อสาร เพราะ comments คือการรวมกลุ่มทางสังคม ซึ่งถ้าประเด็นเป็นเรื่องที่น่าสนใจจะมีคนเข้ามาเป็นจำนวน
2.ให้สร้างเครื่องมือ/ช่องทางการสื่อสารที่มีความหลากหลายมากขึ้น เพราะ FB ที่เป็นทางการทำให้บทบาทในการ HL แข็งทื่อ ไม่มีความหลากหลายไม่สามารถเอาเครื่องมือเราไปดึงประเด็นได้ เช่น เรื่อง only fan ซึ่งมีการ debate กันมากและมีประเด็นหลากหลาย ประเด็นสำคัญคือ การที่จะนำมาใช้เป็นประโยชน์ในงานเราของสอพ.คือ เรื่องเพศศึกษา เพราะเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่าสังคมไทยยังมีปัญหาเรื่องนี้อยู่ ซึ่งควรใช้เรื่องนี้เป็นโอกาสในการสร้างประเด็นให้เราขยายผลต่อในการทำให้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและเพศสภาพ มีมากขึ้น
อยากให้ HL ไปปรับรูปแบบให้พลิกแพลงมากขึ้น แต่ไม่ใช่ใช้ official ของกรม เพราะไม่สามารถตอบโต้ ดังนั้นจึงต้องให้มีความหลากหลายในตัวเครื่องมือเรามากขึ้น

กอง HL

 

หน่วยงานรับทราบ/และจะดำเนินการเพิ่มช่องทางต่างๆ ตามแผนปี 65

ร่างมาตรการ COVID Free Setting ที่พัก โรงแรม แหล่งท่องเที่ยว สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง โดยสว.

1) การเปิดเชิงพื้นที่หมายความว่า มีเงื่อนไขอยู่ภายใน เช่น ภูเก็ต sandbox มีเงื่อนไขว่า กิจการในพื้นที่ที่ไม่ควรเปิดแต่จะผ่อนผันให้โดยมี COVID Free Setting เข้ามา ดังนั้นเวลาเขียนต้องเขียนเป็นหลักการว่าเป็น setting  แล้วเอาไปประกอบในการเปิดเชิงพื้นที่ พื้นที่ก็จะถูก lock โดยตัวมันเองว่า ต้องมีการฉีดวัคซีนครบตามที่กำหนดถ้าไม่ครบก็เปิดเชิงพื้นที่ไม่ได้แต่ไม่มีข้อห้ามในการเปิดเชิงกิจกรรม เช่น กทม.ที่ยังฉีดไม่ครบแต่ให้เปิดกิจกรรมได้ ซึ่งต้องมีการกำหนดเงื่อนไข ดังนั้นถ้าไม่กำหนดเงื่อนไขก็เป็น COVID Free Customer ไม่ได้

2) ให้ชี้ตรงประเด็นคนคือ เรื่องการจัดหา ATK ตรงประเด็น Personnel ต้องเขียนโดยใช้คำที่ไม่ทำให้ lock ได้ ต้องให้สามารถ adjust ได้ในระดับหนึ่ง เพราะเมื่อความชุกลดลงตัวsenseจะเริ่มมีปัญหามากขึ้นเพราะ false negative จะโผล่ขึ้นมาเยอะมากขึ้นจากเดิมที่ก็มีมากอยู่แล้ว 

3) เรื่องการระบายอากาศ ให้ทำให้ชัดเจนและดูให้รอบคอบเพราะ มีการตั้งข้อสังเกตการติดเชื้อที่มีทั้ง droplets และ aerosol

4) ระบบบันทึกการตรวจ ATK ซึ่งสป.กำหนดไว้ณ จุดตรวจ โดยมีระบบที่ตรวจโดยบุคลากรจะมีใบรับรอง ส่วนตรวจด้วยตนเองไม่ออกใบรับรองให้แต่ใช้งานได้ (รายละเอียดคุยภายหลัง) ประเด็น COVID Free Customer ยืนยันให้มีครบทั้ง 3 ส่วน คือ ฉีดวัคซีน หรือเคยติดเชื้อหรือตรวจ ATK โดยให้ไปพิจารณาเรื่องความถี่อีกที และต่อไปภาพรวมสถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากเมื่อจำนวนผู้ติดเชื้อลดลง ให้ทำ COVID Free Setting ไว้ก่อนแล้วค่อยเอาไป match กับภาพสถานการณ์ (เหมือนที่กองกิจฯและโรงเรียนที่ทำไว้) พื้นที่สีเขียวไม่ตรวจ สีเหลืองใช้สุ่ม ดังนั้นความถี่ในการตรวจ ATK กับวัตถุประสงค์จะแปรผันตามสถานการณ์การระบาด

5) รับประเด็นในเรื่อง การแสดงในแหล่งท่องเที่ยวไว้ก่อน เพราะแหล่งท่องเที่ยวที่เป็น open air ตัว COVID Free Customer อาจอ่อนลงไปมากเพราะอาจไม่มีความเสี่ยง แต่ถ้าเป็นพื้นที่ปิด เช่น aquarium ที่เป็นห้องแอร์หมดจะมีความเสี่ยง

6) ในการเดินทางไกลจะมีจุดพักรถที่ไม่ใช่ปั๊มน้ำมันจะต้องออกให้ครอบคลุมหรือไม่ เพราะถ้าเป็นร้านอาหารก็ไม่ต้องออกเพราะต้องทำตามมาตรการร้านอาหาร ที่พักรถที่เป็นร้านขายของฝากจะถูกครอบคลุมด้วย COVID Free Settingของกิจการนั้นถ้าเราออกในจุดร้านของฝากครบก็ไม่มีอะไรแล้ว ให้เกลาเนื้อหาและhighlight เฉพาะในส่วนที่ต่างจากsetting อื่น แล้วนำไปเสนอEOC กระทรวง

รองฯ อรรถพล : เสนอ 1) ให้ดูเป็น setting เดียวกันตั้งแต่โรงแรม ที่พัก ที่เที่ยว ดังนั้น COVID Free Customerซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกันควรเหมือนกันหมดโดยเขียนให้คลุมไว้ในภาพใหญ่ 2) แหล่งท่องเที่ยวที่กำหนดเป็น 75 % เช่น ขึ้นเกาะต้องเป็น 75 % ของเกาะแต่ถ้ามีทัวร์มา 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มก็เป็น75 % แต่เมื่อทุกกลุ่มขึ้นเกาะพร้อมกัน ก็เกิน 75 %ของตัวเกาะ

อธิบดี : เห็นว่าเรื่องนี้ไปสัมพันธ์กับตัวระบบและโครงสร้างที่รองรับ ซึ่งขึ้นกับระบบและเทคโนโลยีเอื้อและรองรับในการปฏิบัติหรือไม่ฝากไปดู ภาพโดยรวมของการท่องเที่ยวที่เราดูคือ ดูภายในประเทศเป็นหลัก และที่เราช่วยคือ คนที่มาจากต่างประเทศเข้ามาแล้วและพ้นระยะเวลาก็จะกลายเป็นคนไม่ติดเชื้อ แต่ถ้าอยู่นานเกินก็จะกลายเป็นคนที่มีโอกาสติดเชื้อได้ ให้ดูรายละเอียดเหล่านี้และดูภาพโดยรวมตลอดวงจรของการท่องเที่ยวให้ครบ แต่ถ้าเป็น setting ที่ลักษณะเป็นพื้นที่ที่ดำเนินชีวิตไปตามระบบ เราก็แค่ออกมาตรการ COVID Free Setting ไป แล้วคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดก็นำไปร้อยเรียง แต่กรณีพื้นที่ท่องเที่ยวเราอาจเป็นคนที่ต้องมีหน้าที่ร้อยเรียง COVID Free Setting เข้าด้วยกันให้เป็นระบบเหมือนที่เราทำให้ครบ มอบให้สว.รับรายละเอียดเหล่านี้ไปเกลาแล้วนำเสนอ EOC กระทรวงอย่างช้าสัปดาห์หน้า

สำนักสิ่งแวดล้อม
 

 

หน่วยงานรับทราบ

ข้อเสนอการใช้ตราสัญลักษณ์มาตรฐานร่วมระหว่าง SHA Plus และ COVID Free Setting โดยกองแผนงาน

รองฯ บัญชา : เสนอว่า ควรแบ่งภารกิจให้ชัดเจนว่า เราเป็นทั้งคนออกมาตรฐาน สนับสนุนให้นำมาตรฐานไป plug in กับระบบของเขา แต่ที่ผ่านมาพบว่า เราออกมาตรฐานเสร็จให้เขาไปทำบน platform ของเขา ทำให้เราไม่มีข้อมูล ต้องขอให้โอนข้อมูลกลับมาให้ซึ่งหากเขาไม่ให้ก็ทำให้เราทำงานยาก ดังนั้นให้คิดระบบบริการไว้อีกชั้นคือ นอกจากออกมาตรฐานแล้วให้ออกระบบบริการไว้ด้วย เนื่องจากมีเงื่อนไขที่ว่ามาตรฐานเราจะมีการปรับได้ตลอดเวลาจึงไม่เหมาะที่จะส่งให้เขาแต่ละทีที่มีการปรับเปลี่ยน ซึ่งเมื่อหมดโควิดแต่ SHA ยังคงอยู่ในการที่จะทำกับมาตรฐานสุขอนามัยอื่นๆ จึงเสนอว่าถ้าจะใช้มาตรฐานเรา ให้เขา plug in ระบบของเราเชื่อมกับ module โดยให้ของเราเป็น module หนึ่งของเขา เมื่อเข้ามาทำหน้าบ้านเขาด้านเกณฑ์การท่องเที่ยว แต่ด้านHealth จะมาที่เรา ข้อมูลนี้ก็จะเชื่อมโยงให้เขาได้ใช้และเราก็ได้ใช้โดยผ่านหน้าบ้านเขาตลอด ซึ่งน่าจะนำข้อเสนอนี้ไปหารือกับเขาว่า ต่อไปนี้ ในส่วนของ health เอามาให้เราทำเลยแล้วมาเชื่อม API กัน ซึ่งจะสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้เลยทำนองเดียวกับที่เราไปเชื่อมผ่านระบบหมอพร้อมซึ่งมีระบบหลังบ้านในเรื่อง Lab, ATK, วัคซีน หรือนอนรพ.ซึ่งเขารับรองมาแล้วว่าผ่าน เราจะไม่ไปเข้าถึงข้อมูลแต่จะผนวก TST เข้าไป บางครั้งเขาไม่มีข้อมูล Lab, ATK, วัคซีน หรือนอนรพ.เลยแต่เราให้เข้าได้เพราะเขาทำ TST = เราทำหน้าที่ modifier ซึ่งจะใช้หลักการนี้ต่อไปคือ กรมก็ทำได้ในส่วนของกรมแต่ยังใช้หมอพร้อมเหมือนเดิมเราไม่ไปทำแข่ง

อธิบดี : ให้มองระยะกลางและระยะยาวว่า 1) การท่องเที่ยวที่ปลอดภัย 2) การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน เมื่อโควิดกลายเป็นโรคประจำถิ่นสิ่งที่การท่องเที่ยวยังต้องทำคือ ความสะอาดของสถานที่ต่างๆ (เช่น ที่พัก/ กิน/ เที่ยว/ เล่น) และความสะอาด ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ เช่น อาหาร ซึ่งเหล่านี้จะเป็นประเด็นของความยั่งยืน ฝากการบ้านตอนที่มอง CFS, TSC, SHA สิ่งที่จะยังอยู่ต่อเนื่องและฝังอยู่ในระบบแม้เมื่อไม่มีโควิดก็ต้องทำคือ ต้องทำตามกฎกระทรวง ส่วนการเปิดเมืองเราอยู่ตรงกลางระหว่างผู้ประกอบการกับกระทรวงเราจะต้องนำ aspect ที่ได้ทางฝั่งผู้ประกอบการไปนำเสนอกระทรวง ถ้าทำให้เกิดสมดุลทั้งสองฝั่งได้ประเทศก็จะเคลื่อนไปได้

 
-

-

 

ข้อสั่งการ :

1) การบ้านที่มอบกองแผนงานไปดำเนินงานเรื่องประสานการจัดระบบข้อมูล เพื่อclearข้อมูลหลังบ้านนั้น ให้มารายงานความก้าวหน้า

2) มอบคลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อมประสานการท่องเที่ยวได้เลยโดยให้ดูจังหวะเวลา (Timing)ที่เหมาะสม และให้มองไปถึงปีใหม่เลย (เพราะคงเริ่มประมาณเดือนต.ค.)

3) เรื่องรับรองระบบ COE ซึ่งมีสิ่งที่กรมอนามัยต้องดำเนินการอยู่ 3 เรื่อง คือ เรื่องระบบโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับเพื่อให้เกิดการได้ใช้จริง  เรื่องกฎหมาย (อนุบัญญัติ) ที่ต้องออกมารองรับเพื่อทำให้เกิดการบังคับใช้  เรื่องแผนการสื่อสารและสร้างความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง {ทั้งสองเรื่องเพื่อให้กิจการ/ กิจกรรม รู้ว่าควรทำ (=สื่อสารเชิญชวน โน้มน้าวให้เห็นความจำเป็น) หรือต้องทำ (เป็นกฎหมาย)} โดยสั่งการให้ไปคุยในเตรียมวางแผนทั้ง 3 เรื่อง มานำเสนอในวันถัดไป (เพราะสีจังหวัดอาจไม่เปลี่ยนแต่มีการคลายกิจกรรมแน่นอน)

ก.แผนงาน

 

คลัสเตอร์อวล.

 

 

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รับทราบ

 

รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ

 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

 

 

สรุปประเด็นจากการประชุมศปก.สธ.ที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย โดยรองฯ สราวุฒิ

1) ประเด็นการกระจายวัคซีน โดยกรมคร.วางแผนให้ประชาชนได้รับวัคซีนตามเป้าหมายคือ 24- 23- 24 ล้านโด้สในปีนี้ ความครอบคลุมให้ได้มากกว่า 80 % ในเดือนธ.ค. และในปี 2565 วางแผนให้ได้ 120 ล้านโด้ส

2) วาระของการท่องเที่ยวมีเรื่องที่ต้องlink กับเราในเรื่อง COVID Free Zone และการเปิดพื้นที่ที่จะสามารถทำให้เกิดการท่องเที่ยวได้โดยเป็น 7+7 อาจต้องไปทำงานร่วมกับการท่องเที่ยวในการกำหนดมาตรการให้สอดคล้องกันไป รวมถึงการใช้ platform ในการทำให้เกิด COVID Free Setting ด้วย

3) วาระที่เราเสนอ คือ

(3.1). มาตรการเรื่อง Safety Zone in School ในร.ร.ประจำ ซึ่งมี 6 มาตรการหลัก และในร.ร.ไป-กลับซึ่งมี 7 มาตรการหลัก ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบด้วย (3.2). เรื่องการให้วัคซีนในเด็กตั้งแต่อายุ 12 ปีขึ้นไปจำนวน 7.5 ล้านคน กำลังวางแผนร่วมกับศธ.ทำความเข้าใจกับผู้ปกครอง และครู โดยเชื่อมโยงกับข้อมูลในการนำเข้า platform ของMOPHIC ที่คร.รับผิดชอบในการนำข้อมูลนักเรียนไปlinkกับระบบเพื่อจะได้ดึงออกมาได้ ในส่วนของเราก็ได้คุยกับศธ.ในการใช้การ์ดนักเรียนสีขาวเพื่อบันทึกอาการและการได้รับวัคซีน

รับทราบ
-

-

รับทราบ
สรุปประเด็นจากการประชุม เรื่อง การบริหารวัคซีน โดยพญ.สรินนา คือ
1) การรณรงค์ฉีดวัคซีนในวันมหิดล 1 ล้านโด้ส ใน 3 กลุ่ม คือ SV เข็ม1, AZ เข็ม2, กระตุ้นเข็ม3
2) การฉีดวัคซีนไฟเซอร์ในเด็กนักเรียนโดยเน้นเรื่องแนวทาง (ดูที่websiteคร.) การinformการยินยอมของผู้ปกครอง ให้เฝ้าระวังอาการข้างเคียงที่อาจเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
3) ให้สสจ.วางแผนฉีดให้ครอบคลุมได้ 50 % ในทุกกลุ่มเป้าหมาย และครอบคลุม 70 % อย่างน้อย1 อำเภอ เพื่อให้ได้ในเรื่อง COVID Free Setting
 
 

 

 

ข้อสั่งการ :

1) ดำเนินการดูแลบุคลากรวัยทำงานทั้ง 12 ศูนย์ ที่ฉีดSV 2 เข็ม ให้ได้รับเข็ม 3 ตามเงื่อนไขที่จังหวัดกำหนด

 

2) มอบรองฯ อรรถพล และกองจ. ประสานกับสสม.ในการดูแลบุคลากรส่วนกลางที่อยู่ในเกณฑ์เข้าช่ายเป็นบุคลากรสาธารณสุขที่รับ SV 2 เข็ม และประสงค์กระตุ้นเข็ม 3 ด้วย AZ และหากวัคซีนเปลี่ยนจากการใช้ฉุกเฉินเป็นการใช้ปกติ ให้ใช้เงินบำรุงซื้อมาฉีดให้บุคลากรเป็นสวัสดิการ

ทุกศอ.

 

รองฯอรรถพล

และกองจ.
 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

รับทราบ
 
 
 
 

 

 
1. ใช้กลไกโรงเรียนส่งเสริมส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับกลุ่มงานอนามัยโรงเรียนของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและกลุ่มงานโรคติดต่อในพื้นที่ และใช้เครื่องมือบัตรอนามัยโรงเรียนในการบันทึกข้อมูลการฉีดวัคซีนของนักเรียน
นพ.สราวุฒิ บุญสุข
สำนักส่งเสริมสุขภาพ
 

 
2. ปรับแนวทางการปิดศูนย์แยกกักผู้ป่วยโควิด – 19 (Community Isolation: CI) ตามข้อเสนอแนะ
หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีในการกำจัดเชื้อโรค และจัดทำเป็น Infographic และเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ ของกรอมนามัย พร้อมทั้งประสานสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และกองกฎหมายจัดทำหนังสือราชการเผยแพร่แนวปฏิบัติฯ ข้างต้น
ศูนย์ประสานงาน CI
กองสื่อสารความรอบรู้
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
กองกฎหมาย
 

 
3. การผ่อนคลายมาตรการฯ ภายใต้การระบาดของโควิด – 19 สำหรับฟิตเนส
   3.1 ให้คำนึงถึงมาตรการ เป้าหมายวัคซีน และความรุนแรงของการระบาดที่สอดคล้องกับสถานการณ์ และหากมีข้อเสนอหรือแนะนำให้เปิดการประกอบกิจการในเดือนกันยายน ต้องระมัดระวังและพิจารณาเรื่องมาตรการ COVID Free Setting ซึ่งไม่มีสภาพบังคับทางกฎหมาย
   3.2 ทบทวนและปรับมาตรการให้เหมาะสม โดยให้ระบุช่วงเดือนในการเปิดดำเนินกิจการ ทั้งนี้ ให้มีการหารือกับผู้ประกอบกิจการเพื่อหาข้อสรุป และพิจารณามาตรการที่เหมาะสมร่วมกัน รวมทั้งระบุลักษณะของสถานที่ออกกำลังกาย (ฟิตเนส) ให้ชัดเจนว่ามีการใช้หรือไม่ใช้เครื่องปรับอากาศ และให้ทบทวนมาตรการของต่างประเทศร่วมด้วย รวมทั้งวิเคราะห์และทบทวนแนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัยและเครือข่ายให้ชัดเจน
นายแพทย์บัญชา ค้าของ
กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
 

 
4. การยกระดับมาตรการปลอดภัย สำหรับองค์กร (Covid Free Setting) กิจการนวดในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด
   4.1 กำหนดมาตรการปลอดภัยสำหรับกิจการนวดให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. สถานประกอบกิจเพื่อสุขภาพ และ พ.ร.บ. การสาธารณสุข
   4.2 เพิ่ม “มีภูมิคุ้มกัน หรือ ไม่พบเชื้อโดยการคัดกรอง และ UP –DMHTA” รวมทั้งพิจารณาตัดมาตรการ งดการนั่งรอรับบริการภายในร้าน และเพิ่มมาตรการ COVID Free Personnel “หากพนักงานติดเชื้อให้มีการกักตัว 14 วัน ก่อนเข้าทำงาน
   4.3 ปรึกษาหารือกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อกำหนดชื่อกิจการให้มีความเหมาะสมและพิจารณากลไกในการใช้ พ.ร.บ. ให้ชัดเจน
   ทั้งนี้ ให้มีการแจ้งเวียนไฟล์นำเสนอให้อธิบดีและผู้บริหารรับทราบ ก่อนนำเสนอในการประชุมศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินฯ (PHEOC กระทรวงสาธารณสุข) วันเสาร์ที่ 18 กันยาน 2564 ต่อไป
นายแพทย์ดนัย ธีวันดา
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
 

 
5.1 ควรเร่งดำเนินการรณรงค์ Universal Prevention ในช่วงปลายเดือนกันยายน หรือต้นเดือนตุลาคม
5.2 มาตรการองค์กรในการป้องกันการระบาดของโควิด – 19 เน้นการปฏิบัติตามมาตรการ Covid Free Setting
กองสื่อสารความรอบรู้
กองการเจ้าหน้าที่/
สำนักเลขานุการกรม
 

 

ข้อสั่งจากการประชุม EOC กรมอนามัย มีข้อสั่งการ ดังนี้

 1.1 มอบกองแผนงานตรวจสอบข้อสั่งการย้อนหลัง และรายงานเรื่องที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ และยังไม่ดำเนินการเพื่อติดตามต่อไป

 1.2 เร่งรัดการติดตาม ประกาศการจัดการขยะติดเชื้อ

 1.3 สำหรับมาตรการฟิตเนสที่อยู่ในห้องแอร์ให้ปรับเข้ากับกรอบ COVID Free Setting และนำเสนอมาตรการในวันพรุ่งนี้

 1.4 สำหรับมาตรการ การนวด ให้ประสานกรมสนับสนุนบริการสุขภาพในการ Sandbox บาง Setting

 

กองแผนงาน

 

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กองกิจกรรมทางกายฯ

 

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

กผ. ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

 

สว. อยู่ระหว่างดำเนินการ

หน่วยงานรับทราบ

 

สว. ประสาน สบส.เรียบร้อยแล้ว ผ่านระบบออนไลน์วันนี้

 ข้อสั่งจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข มีข้อสั่งการ ดังนี้

   2.1 มีประเด็นเสนอพิจารณา มอบกรมอนามัย ติดตาม กำกับ การออกใบรับรองผลตรวจ ATK ประเภท Self test นอกสถานพยาบาล รวมทั้งศึกษาผลการดำเนินการ และประเมินผล

  2.2 มอบกองแผนงานติดตามรายละเอียดสรุปการประชุมกระทรวงที่มอบกรมอนามัยเพื่อดำเนินการต่อไป

รับทราบ

-

-

รับทราบ

Anamai poll มีข้อสั่งการ ดังนี้

   -เสนอให้กอง HL นำเสนอผลสำรวจอนามัยโพล ประเด็นพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักวาลของประชาชน ไปใช้ในการวางแผนการสื่อสาร เน้นย้ำประชาชนโดยเฉพาะพฤติกรรมการสวมหน้ากากในบ้านเมื่ออยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง เป็นต้น

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

 

ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

   วาระอื่นๆ

   4.1 มอบ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ประสานการดำเนินการ COE

   4.2 มอบ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาของร้านอาหาร และเฝ้าระวังประเด็นความเสี่ยง การสื่อสาร นวัตกรรม และวิธีการลดการให้บริการตัวเอง

  • มอบ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ร่วมกับ ศูนย์อนามัยที่ 9

4.4 มอบ กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ ประชาสัมพันธ์ในการทำ Logistic การช่วยเหลือประชาชนในประเด็นข่าวน้ำท่วม

   4.5 มอบ ศูนย์อนามัยทุกแห่ง ส่งภาพข่าวกิจกรรมในการไปช่วยเหลือพื้นที่มายังกองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพเพื่อ  

รวบรวม และประชาสัมพันธ์เป็นภาพรวมของกรมอนามัย

   4.6 ให้ทุกหน่วยงานให้ความสำคัญกับ COVID Free Setting

ทุกหน่วยงาน

-

-

ทุกหน่วยงาน

1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ตรวจเยี่ยมยกระดับมาตรการด้านสาธารณสุข เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด -19  ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน ในวันที่ 15 ก.ย. 64

1.1 ควรเตรียมการล่วงหน้าก่อนกำหนดการ 1 ชั่วโมง เนื่องจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขมักไปก่อนเวลา

1.2 จัดที่พักรอใกล้ประตูทางเข้า

1.3 กำหนดร้านค้าที่จะให้เข้าเยี่ยมชม พร้อมทั้งซักซ้อมในเรื่องของการคัดกรองและการฉีดวัคซีนทั้งของพนักงานและผู้รับบริการ

1.4 จัดเตรียมคนนำเดิน การจัดถ่ายรูปร่วมกัน และการสื่อสาร

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

 

 

รายงานการเตรียมความพร้อมรับอุทกภัย มีข้อสั่งการ ดังนี้

2.1 ประชาสัมพันธ์และสื่อสารการสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบจากอุทกภัย การปฏิบัติตน การระมัดระวังของกลุ่มเปราะบาง พร้อมจัดทำข่าวกิจกรรมสนับสนุนในการดำเนินการ การเตรียมวัสดุ โดยสื่อข่าวสารทั้งส่วนภูมิภาคและส่วนกลาง

2.2 ขอให้ศูนย์อนามัยเฝ้าระวังสถานการณ์ สรุปรายงานส่งให้สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมรวบรวม และส่งรูปภาพสถานการณ์และกิจกรรมต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์สร้างความรับรู้ให้กับประชาชน

2.3 มอบกองคลัง กองแผนงาน และสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม พิจารณางบประมาณที่จะใช้ในการดำเนินงานในสถานการณ์อุทกภัย โดยเน้นให้เป็นไปตามระเบียบการเงินการคลัง พร้อมทั้งให้ศูนย์อนามัยใช้จ่ายงบประมาณให้ถูกต้องตามระเบียบการเงินการคลัง

2.4 มอบทุกศูนย์อนามัยดำเนินการในพื้นที่ตามกรอบที่นำเสนอในที่ประชุม ส่วนกลางมอบสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และมอบกองHLสื่อสารให้ประชาชนได้รับทราบดำเนินงานของกรม

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กอง HL

ศูนย์อนามัยเขต

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. เตรียมแพ็คของเพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนทั้งของบริจาคและสั่งซื้อ พร้อมหาข้อมูลความต้องการของประชาชนในพื้นที่ที่ประสบภัย

 

 

 

รับทราบ

4. รายงานการจัดสรร ATK

- นำเสนอรายละเอียดจำนวนชุดตรวจ ATK ที่กรมอนามัยได้รับจัดสรรให้กับศูนย์อนามัยที่ 1-12, สสม. เพื่อให้ Setting ต่างๆ ดำเนินการ โดยพิจารณาการจัดสรร ATK  ของ สป.สช.

สำนักงานเลขานุการกรม

กองแผนงาน

ศูนย์อนามัยที่ 1-12, สสม.

 

 

รับทราบ

5.1 การนวด ขอให้ปรึกษาหารือกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และกรมควบคุมโรคติดต่อเพื่อออกกรอบ Free Covid Setting 

5.2 ฟิตเนสที่อยู่ในห้องแอร์ ให้ประสานการดำเนินงานร่วมกับสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย และกรมควบคุมโรค ทั้งพนักงานและลูกค้า ปรับให้เข้ากับกรอบ Covid Free Setting และปรับตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

5.3 สำหรับ Setting อื่นๆ เช่น กลุ่มตลก กลุ่มศิลปินในร้านอาหาร กลุ่มผับบาร์ในห้องแคบ ๆ ฯลฯ ให้มีการพูดคุยกับกลุ่มSetting ดังกล่าว และเตรียมดำเนินการปรับตามกรอบ Covid Free Setting และทยอยนำเสนอในที่ประชุม EOC กระทรวงสาธารณสุข ต่อไป

5.4 มอบกอง HL สื่อสารในกิจกรรมต่างๆที่กรมอนามัยเตรียมการมาตรการ Covid Free Setting ใน Setting ต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นผู้นำสังคมในการขับเคลื่อน Covid Free Setting

 

 

 

 

1. ประกาศและแจ้งแนวทางยกระดับมาตรการกรณีเปิดสถานประกอบการในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (Covid Free Setting)

รับทราบ

 

 

 

2. สื่อสาร สร้างความเข้าใจให้ประชาชนที่ยังไม่อยากให้เปิดสถานที่เสี่ยงให้มีความมั่นใจเมื่อเปิดสถานที่นั้น

ออกแบบคำถามในการประเมิน Environment Free Setting

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

 

 

3. ปรับข้อความ แก้ไขโลโก้ สติ๊กเกอร์ และใบรับรอง (Certificate) ของระบบ TSC 2+ ในเรื่อง COVID Free Setting

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

 

 

4. ประสานกรมการแพทย์ และสำนักงานเขตกรุงเทพมหานครในการดำเนินการคืนพื้นที่ของศูนย์นิมิบุตรหลังจากการดำเนินกิจกรรมของกระทรวงสาธารณสุข

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

 

5. รวบรวมข้อมูลในการดำเนินการถอดบทเรียนเพื่อทำในภาพรวมและเก็บภาพของกิจกรรมที่ชัดเจน

สสม. / ศรป.

 

 

6. รณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์เข้ารับวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19

ศูนย์อนามัยทุกแห่ง / สสม.

 

 


1.1 จัดเตรียมมาตรการ COVID Free Setting รองรับสถานที่ดูแลผู้สูงอายุ เฉพาะที่มีการรับตัวไว้พักค้างคืน ซึ่งคาดว่าจะให้เปิดดำเนินการได้ ในวันที่ 15 ก.ย. 64

1.2 จัดทำบัตรเจ้าพนักงานสาธารณสุขให้กับปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสามารถตรวจสอบสถานประกอบการต่างๆ ได้

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

 

กองกฎหมาย

 

 

 

2.1 แก้ไขโลโก้ สติ๊กเกอร์ และใบรับรอง (Certificate) ของระบบ TSC 2+ ในเรื่อง COVID Free Setting ดังนี้

   2.2.1 โลโก้ : เลือกรูปแบบที่มีเมืองเป็น Background แต่ปรับขนาดของ Free Setting ให้ใหญ่และเด่นชัดขึ้น

   2.2.2 สติ๊กเกอร์ : เพิ่มข้อความภาษาไทยเพื่อให้เกิดความเข้าใจว่าสติ๊กเกอร์นี้ คือ “ใบรับรองสถานที่มาตรฐานปลอดโควิด”  / ใส่โลโก้กระทรวงสาธารณสุข / แก้ไขวันรับรองและวันหมดอายุ

   2.2.3 ใบรับรอง (Certificate) : ปรับรูปแบบตามโลโก้

ทั้งนี้ ให้แก้ไขและส่งให้ผู้บริหารร่วมแสดงความคิดเห็นทางไลน์กลุ่ม Senior ภายในคืนนี้ เพื่อสรุปผลในวันพรุ่งนี้ (10 ก.ย. 64)
กอง HL    

3. วางแผนการขับเคลื่อนให้ผู้พิทักษ์อนามัยเป็นแกนกลางการตรวจสอบกำกับมาตรการ COVID Free Setting ในพื้นที่ ตามผังกลไกการตรวจสอบที่กรมอนามัยต้องรับผิดชอบ และรายงานความคืบหน้าการดำเนินงานฯ ในที่ประชุม EOC สัปดาห์หน้า

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

และกอง HL
   
4.1 ดำเนินการตามข้อเสนอการยกระดับมาตรการ COVID Free Setting ดังนี้

     1) การออกประกาศ หรือกฎหมาย เพื่อขับเคลื่อนกลไก การกำกับมาตรการให้เกิด COVID Free Setting ตามที่เสนอ ศปก.ศบค. และชี้แจงแก่จังหวัดและท้องถิ่น (Regulation)

     2) การขับเคลื่อนกลไกกับเครือข่ายสถานประกอบการและการจัดทีมปฏิบัติการ เพื่อยกระดับ 6 Setting และกำกับมาตรการ และรายผลการปฏิบัติตามมาตรการของ Setting ในช่วงเดือนกันยายน 2564 แก่ PHEOC และ ศปก.ศบค.

     3) เร่งติดตามและออกเอกสารทางกฎหมาย เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนการจัดการขยะติดเชื้อ และรายงานความก้าวหน้ากับ ศปก.ศบค.

     4) ให้จัดทำมาตรการ COVID free Setting ในสถานบริการเสี่ยง เช่น ร้านอาหารกึ่งผับ ผับบาร์คาราโอเกะ โรงมหรสพ โดยแบ่งกลุ่มสถานประกอบการเป็น Grading ความเสี่ยง พื้นที่

 

สว. / สอน. / กป. / สส. / สอส.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

   
4.2 ศึกษาแนวทางการดำเนินงานของระบบสารสนเทศเพื่อเฝ้าระวังการละเมิดกฎหมายควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (Tobacco & Alcohol Surveillance System: TAS) (ถ่ายรูป แจ้งเหตุ ระบุวันเวลา ฯลฯ) เพื่อเป็นเครื่องมือให้ผู้พิทักษ์อนามัยใช้เฝ้าระวังตามมาตรการ COVID Free Setting 

กองแผนงาน

   
4.3 สื่อสารและสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของมาตรการ COVID Free Setting ในกิจการ/กิจกรรมต่างๆ

กอง HL

   

5.1.1 ทบทวนมาตรการของกรมอนามัยให้มีความชัดเจน และข้อใดบ้างที่ไม่ควรผ่อนปรน และข้อใดบ้างที่สามารถผ่อนปรนให้กับสถานประกอบการได้

5.1.2 รวบรวมรายชื่อของผู้ที่เกี่ยวข้องกับร้านอาหารรวมทั้งแผงลอย ทั้งจากสมาคม ชมรม หรือกลุ่มอื่นใด ที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีน และเร่งประสานหาสถานที่ฉีดวัคซีน โดย กทม. และปริมณฑล ให้ประสานศูนย์วัคซีนกลางบางซื่อ ส่วนต่างจังหวัดให้ประสานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

5.1.3 นำเสนอข้อมูลเรื่องการประเมิน TSC ของสถานประกอบการให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ ศบค. ทราบอีกครั้งหนึ่ง

นพ.ดนัย ธีวันดา/ สอน.

 

 นพ.ดนัย ธีวันดา/ สว.

สว. / สอน. / กป. / สอส. / ศอ.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
จากการรายงานความก้าวหน้าคณะทางานกลุ่มภารกิจด้านความรอบรู้ สื่อสารความเสี่ยง และประชาสัมพันธ์
มีข้อสั่งการให้กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพดาเนินการประสานกองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพขอข้อมูลเชิงปริมาณ(กราฟ) การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชาชนในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 โดยให้เพิ่มข้อมูลข้างต้นในข่าวสาร/ข่าวประชาสัมพันธ์ เพื่อเสริมความน่าเชื่อถือของข้อมูล
กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ/
กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
  อยู่ระหว่างดาเนินการ
การบริหารข้อมูล ATK ที่ได้รับจัดสรรจากสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
สืบเนื่องจากชุดตรวจ ATK ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงต้องดาเนินการภายใต้ระบบและเงื่อนไขของหน่วยจัดสรรอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ มีข้อสั่งการให้ทุกหน่วยงานดาเนินการตามเป้าหมาย ขั้นตอน และกระบวนการ (SOP) ที่กองแผนงานนาเสนอ
ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - - หน่วยงานรับทราบ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ให้ครบถ้วน เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการตรวจสอบความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐจากสานักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งรวบรวมบทเรียนรู้ ปัจจัยความสาเร็จ ข้อเสนอแนะ และสรุปบทเรียนการดาเนินงาน เพื่อเก็บเป็นฐานข้อมูลในพิพิธพันธ์กรมอนามัย และนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานในอนาคตต่อไป
ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - - หน่วยงานรับทราบ
1.ข้อสั่งการจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข มีข้อเสนอแนะดังนี้
- ไม่มีข้อสั่งการถึงกรมอนามัย เร่งสื่อสาร Universal Prevention ในการอยู่ร่วมกันภายในบ้าน ภายในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และวางแผนประเมินมาตรการควบคุมโรคแบบ COVID – Free Setting ในสถานที่เสี่ยง
- - - รับทราบ
2. Anamai poll ประเด็น “คิดว่าบ้านเป็นแหล่งที่ทำให้ติดเชื้อโควิดแค่ไหน? และวิธีการเฝ้าระวังความเสี่ยงของตนเอง” มีข้อสั่งการ ดังนี้
- มอบให้ศูนย์อนามัยติดตามหน่วยงานของศูนย์อนามัยสำรวจ Anamai Poll ตามจำนวน N ที่ได้กำหนดไว้
- ให้มีการสื่อสารวิธีการประเมินความเสี่ยงให้แก่ประชาชน เช่น การใช้แอปพลิเคชันไทยเซฟไทย (TST) เพื่อใช้ในการเฝ้าระวัง และประเมินความเสี่ยงเบื้องต้นของคนในครอบครัว

 

ศูนย์อนามัยเขตที่ 1 – 12, สสม.

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

   
3. รายงานความก้าวหน้าการสื่อสารสาธารณะ มีข้อเสนอแนะดังนี้
- ประเด็นข้อความจากเจ้าหน้าที่ผ่านช่องทางโซเชียล: ในประเด็น Booster Dose วัคซีน mRNA มอบ นพ.อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ และกองการเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ คือ 1) ตรวจสอบเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการโดยตรงต้องได้วัคซีนบูสเตอร์ 2) นิยามบุคลากรด้านหน้าควรรวมบุคลากรที่ลงพื้นที่ในชุมชนแออัด ตลาด CI เป็นต้น

รองอธิบดี (นพ.อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์)

กองการเจ้าหน้าที่
   
4. รายงานการจัดสรร ATK
- ขอให้สำนักงานเลขานุการกรมประสาน สปสช.ในประเด็นการได้รับ ATK ของจะได้ผ่านทางไหน หน่วยงานหรือแอพพลิเคชั่นกระเป๋าตังค์ และมอบกองแผนงานประสาน สปสช.ในประเด็นการลงข้อมูลผลการตรวจโควิดจาก ATK
- จัดทำระบบข้อมูล SOP และคืนข้อมูล 400,000 Test ผลการตรวจให้กับ สปสช. ใน Setting ต่างๆ ที่กรมอนามัยดำเนินการ

รองอธิบดี (นพ.อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์)

สำนักงานเลขานุการกรม

กองแผนงาน
   
5. ผลการดำเนินงานความก้าวหน้าการบริหารงบกลางและงบเงินกู้ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี และศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
- ทั้ง 2 ศูนย์มีการดำเนินการที่เข้มแข็งมาก พร้อมทั้งให้เร่งรัดการเบิกจ่ายและดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน

ศูนย์อนามัยที่ 5, 6

- - รับทราบ
Anamai poll มีข้อสั่งการ ดังนี้
- ให้มีการวิเคราะห์เชิงลึกโดยประเภทของสถานประกอบการ/กิจกรรม ที่ประชาชนอยากให้เปิดมาก
ที่สุด และให้ใช้ประโยชน์จากการสำรวจให้มากที่สุด และสามารถเป็นผลงานวิจัยได้ด้วย
ทีมวิชาการ
กองส่งเสริมความรอบรู้และ
สื่อสารสุขภาพ
  หน่วยงานรับทราบ
รายงานความก้าวหน้าการสื่อสารสาธารณะ มีข้อเสนอแนะดังนี้
- ให้มีการ Set ทีม คณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัย
สิ่งแวดล้อม กรมอนามัยจากศูนย์อนามัย และให้มีทั้งทีมจากสายส่งเสริมสุขภาพและสายอนามัย
สิ่งแวดล้อมลงพื้นที่ปฏิบัติการพร้อม ๆ กัน
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม   อยู่ระหว่างด าเนินการ
ผลการด าเนินงานความก้าวหน้างบกลางและเงินกู้ ศูนย์อนามัยที่ 3 และศูนย์อนามัยที่ 4
- ทั้ง 2 ศูนย์มีการด าเนินการที่เข้มแข็งมาก และขอให้มีการดูแลบุคลากรในหน่วยงานด้วย
ศูนย์อนามัยที่ 3-4 - - หน่วยงานรับทราบ
- วันที่ 4 กันยายน 2564 นัดประชุมวาระเฉพาะกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย เรื่องการดำเนินงานเกี่ยวกับการ
บริหาร ATK และประสานสปสช.ต่อไป มอบรองอธิบดี (นพ.ดนัย ธีวันดา) ก ากับ
- การประชุมชี้แจงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมถึงพื้นที่ในปี 65 ขอให้ศูนย์อนามัย
ประสานงานผู้รับผิดชอบงานจังหวัดให้ติดตามตั้งแต่เนิ่น ๆ และคาดว่าโควิดคงไม่หมดไปขอให้ผู้บริหาร
เตรียมการสร้างให้คนได้รู้ได้เข้าใจและส่งเสริมให้คนได้รู้สุขภาพ ความสะอาดปลอดภัยของสถานที่ให้
เป็นพื้นฐาน เตรียมเรื่องภาคีเครือข่ายของกรมทั้งรัฐและเอกชน ปรับการท างานแบบ New Normal
โดยผลผลิตคงอยู่ ถ้ามีปัญหาให้สอบถามรองอธิบดีที่รับผิดชอบ ส่วนในเรื่องงบประมาณปรึกษากองคลัง
กองแผนงาน กลุ่มตรวจสอบภายใน รองอธิบดีที่รับผิดชอย
รองอธิบดี (นพ.ดนัย ธีวันดา)
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทุกหน่วยงาน
 

รับทราบ

 


หน่วยงานรับทราบ

 

 

 

 

1. จัดทำโพลเรื่องแรงงานต่างด้าวกลุ่มตะเข็บชายแดนหรือพื้นที่ที่มีแรงงานต่างด้าวจำนวนมากเชื่อมโยงกับพฤติกรรมการสวมหน้ากาก และเพิ่มข้อคำถามการพบเห็นความเสี่ยงในร้านอาหาร จากการปรับมาตรการวันที่ 1 กันยายน 2564  ทีมอนามัยโพล    
2. วิเคราะห์เพื่อพิจารณาความเสี่ยง จากประเด็นข่าวสุดเสี่ยง วันที่ 2 กันยายน 2564 กรณีนักวิจัยเตือนโควิด-19 เสี่ยงแพร่ผ่าน ละอองลอย ระหว่างอาคารใกล้กัน ซึ่งรายละเอียดข่าวคือ ตึกมีเพดานเดียวกันห่างกันแค่ 50 ซม.อากาศไม่ระบาย 

STAG/Dream Team

   
3. พิจารณาใน 29 จังหวัดสีแดงเข้ม เสนอให้จังหวัด เลือกว่าจะสุ่มประเมินจำนวนเท่าใด เน้นกลไกชมรมช่วยเสริมตาม setting และ ดำเนินการร่วมกัน เพื่อเป็นการทดสอบเครื่องมือ

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

และศูนย์อนามัย

   
4. ทบทวนตัวเลขในการจัดสรรใหม่และจัดส่งให้พื้นที่อีกครั้ง สำหรับศูนย์อนามัยที่ 8 ที่ไม่มีหน่วยบริการให้ฝากตัวเลขจัดสรรให้ทางศูนย์อนามัยที่ 7 ช่วยดูแลและให้พิจารณาการวางกลไกให้ครบ Loop ของการบริหารจัดการ ATK สำนักเลขานุการกรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง