คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนเมษายน  ปีงบประมาณ 2565

 

0

 

 

0

 

 

0

 

 

 

Date_28

1. จากการรายงาน PHEOC  มีข้อสั่งการ มอบกรมอนามัยในประเด็นการจัดทำวิจัยเกี่ยวกับโควิด – 19 ที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ใช้อ้างอิงทางวิชาการได้ และเตรียมการสำหรับการปฏิบัติตนด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และทบทวนการเตรียมการสู่ Post Pandemic จึงมีข้อสั่งการ ดังนี้

   1.1 มอบทีม STAG และทีมวิชาการกรมที่เกี่ยวข้องทบทวน และพิจารณาหัวข้อของการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกรมอนามัย เช่น DMHT TSC วิเคราะห์และหาหัวข้อวิจัยทั้งด้าน Environment Health, Environment, Health Care

   1.2 มาตรการสำหรับการปฏิบัติตนและแนวทางการเข้าสู่ Post Pandemic ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักส่งเสริมสุขภาพ คลัสเตอร์ทุกกลุ่มวัย พิจารณาในประเด็นที่เกี่ยวข้องและดำเนินการเตรียมการเข้าสู่ Post Pandemic

STAG/ทีมวิชาการกรม/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สส./สว./คลัสเตอร์แม่และเด็ก
วัยเรียนวัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ

 

 

2. ทุกหน่วยเน้นย้ำประเด็นการสื่อสารมาตรการ การ์ดไม่ตก เน้น UP DMHTTและขับเคลื่อน 2 U

กรส/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

 

3. สื่อสารเน้นย้ำความสำคัญของโภชนาการและการออกกำลังกาย ซึ่งมีผลงานวิจัยรองรับ

กรส.

 

 

1.ผลการสำรวจ Anamai General Poll “ความมั่นใจต่อการฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 5 – 11 ปี”

1.1 ให้จัดทำ Key message สำหรับสื่อสาร สร้างความรอบรู้ ให้พาบุตรหลานไปฉีดวัคซีน และเน้นย้ำประสิทธิภาพของวัคซีน

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ    

 

รับทราบดำเนินการสื่อสารตามข้อสั่งการ

1.2 กลุ่มผู้สูงอายุ ให้สำนักอนามัยผู้สูงอายุ ประสานการดำเนินงานร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ ในการเฝ้าระวังการติดเชื้อโควิด – 19 และการฉีดวัคซีนโควิด – 19 ส่วนกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กเล็ก ให้สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติประสานเครือข่ายกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย โดยตรงเพื่อร่วมกันสำรวจข้อมูล และขอให้ศูนย์อนามัยดูแลและให้บริการผู้สูงอายุเมื่อเข้ามาใช้บริการ

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

ศูนย์อนามัย

 

หน่วยงานรับทราบ

สำนักอนามัยสูงอายุ ดำเนินการ

ขอความร่วมมือดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขฯ สำหรับชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียนผู้สูงอายุ และประเมินตนเองผ่าน TSC 2 Plus พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุรับวัคซีนครบตามเกณฑ์

ผ่านเครือข่ายสมาคมสภาผู้สูงอายุและศูนย์อนามัยเขต

1.3 เตรียมสำรวจทัศนคติของประชาชน ประเด็น เป้าหมาย แนวทาง ติดตาม และประเมินผล ต่อสถานการณ์ที่ผ่านมา เพื่อเข้าสู่จัดทำแนวทางการบริหารจัดการสถานการณ์โควิด – 19 สู่โรคประจำถิ่น

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

ทีม STAG

  กองป. ได้จัดทำข้อคำถามและเสนอ STAG ดำเนินการพิจารณาเรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการแก้ไข เพื่อนำมาสำรวจต่อไป

2.การเผยแพร่ข่าวประจำวันผ่านสื่อมวลชน (โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และสื่อออนไลน์)

- เตรียมความพร้อมระบบการให้บริการร่วมกับสายด่วน 4 หลัก หลังสถานการณ์โควิด – 19 เพื่อการเกิดประโยชน์สูงสุด

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ    

  รับทราบดำเนินการสื่อสารตามข้อสั่งการ
Date_12 1. มอบหมายให้ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม. เฝ้าระวังการจัดกิจกรรมให้ดำเนินการตามมาตรการฯ และก่อนจัดงานมีการประเมิน/อนุญาตกิจกรรมการรวมกลุ่มในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และในวันจัดงานให้มีการกำกับการปฏิบัติตามมาตรการ CFS
   และติดตาม เฝ้าระวัง และควบคุมกำกับการปฏิบัติตาม CFS ในกิจการ/กิจกรรมต่างๆ เพื่อคืนข้อมูลกับกระทรวงมหาดไทยและพื้นที่ต่อไป พร้อมทั้งรายงานในที่ประชุม EOC กระทรวง

ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม.

   

2. สื่อสารประชาสัมพันธ์เน้นย้ำให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด โดยให้สำนัก/กอง แต่ละ Setting วิเคราะห์ข้อมูลและกรองข้อมูลและส่งกลับมาให้ กรส. อีกครั้ง พร้อม Feedback แต่ละพื้นที่กำกับติดตาม 2) ให้ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม. กำกับ ติดตาม เน้นย้ำการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคในช่วงเทศกาลสงกรานต์ โดยเฉพาะขนส่งสาธารณะ และวัด/ศาสนสถานในเรื่องที่ผู้ตอบพบเห็นว่าทำได้น้อย ได้แก่ 1. จัดให้มีการเว้นระยะห่าง และควบคุมไม่ให้เกิดความหนาแน่น แออัด 2. จัดให้มีจุดบริการล้างมืออย่างเพียงพอ และการสวมหน้ากากตลอดเวลา และสวมอย่างถูกต้อง 3) หน่วยงานส่วนกลางและศูนย์อนามัยที่ 1 – 12  และ สสม. ใช้เครื่องมือ Anamai Poll เฝ้าระวังการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

กอง HL

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

   

3. เตรียมความพร้อมทีมปฏิบัติการระดับพื้นที่เพื่อรองรับในช่วงเทศกาลสงกรานต์ในการสื่อสารสร้างการรับรู้ การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 พร้อมประสานการดำเนินงานกำกับ ติดตาม สนับสนุนการขับเคลื่อนมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ของหน่วยงานในระดับพื้นที่

ทีม OPERATION

ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม.

   

4. ประเมิน/อนุญาตกิจกรรมการรวมกลุ่มในช่วงเทศกาลสงกรานต์ก่อนจัดงาน และกำกับการปฏิบัติตามมาตรการ CFS ในวันจัดงาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง เฝ้าระวังและควบคุม กำกับการปฏิบัติตาม CFS ในกิจการต่างๆ ได้แก่ ท่าอากาศยาน สถานีขนส่ง สถานีรถไฟ ร้านอาหาร ร้านอาหารกึ่งผับ ตลาด ศาสนสถาน และสถานที่ท่องเที่ยว  เน้นย้ำการสื่อสาร มาตรการ “2 U” ได้แก่
  - Universal Prevention เน้นสวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง ขณะใกล้ชิดกลุ่มเสี่ยง และลดโอกาสเสี่ยงจากการทานอาหารและเครื่องดื่มร่วมกันเป็นเวลานาน                                          

  - Universal Vaccination “ฉีดวัคซีนทุกกลุ่มอายุตามที่กำหนด” โดยเฉพาะกลุ่ม 608 ให้ได้รับวัคซีนก่อนเทศกาลสงกรานต์ 4) จัดเตรียม “แผนเผชิญเหตุ” รองรับกรณีพบการระบาดเพิ่มข้น ระหว่างหรือหลังเทศกาล 5) สำนัก/กองที่รับผิดชอบ Setting วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการระบาดและ CFS พร้อมติดตามรายงานลงในระบบ TSC 

ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม.

สำนัก/กองฯ ที่รับผิดชอบ Setting

   

5. ให้บุคลากรดำเนินการประเมินตนเองด้วย TST และตรวจ ATK ก่อนเข้าปฏิบัติงานภายใน 24 ชั่วโมง 2) หากพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงให้ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรกรมอนามัยที่สัมผัสผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) 3) หากมีความเสี่ยง/มีอาการ คัดกรองตัวเองด้วย ATK หากผลเป็นบวก ให้รายงานผู้บังคับบัญชาและติดต่อสายด่วน 1330

กองการเจ้าหน้าที่

หน่วยงานทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง

   

1.ข้อสั่งการกรมอนามัย

มอบหมายให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามข้อสั่งการ PHEOC

ทุกหน่วยงานกรมอนามัย

ดำเนินการ

- - หน่วยงานรับทราบ

ข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข

2.1 มอบสำนักอนามัยอนามัยสิ่งแวดล้อม เตรียมวิเคราะห์แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจำนวนการเข้าประเมินตนเองตามมาตรการ COVID Free Setting ของสถานประกอบกิจการและกิจกรรมรวมตัวก่อนเข้าสู่ช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ สำหรับเป็นข้อมูลสนับสนุนเพื่อการสื่อสาร สร้างการรับรู้ และกำกับ ติดตามการปฏิบัติตามมาตรการของผู้ประกอบการรองรับการเดินทางท่องเที่ยวและกลับภูมิลำเนาของประชาชนในช่วงเทศกาลดังกล่าวต่อไป
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม  

อยู่ระหว่างดำเนินการ

1) เบื้องต้น สว.ร่วมกับ กอง ป. ได้วิเคราะห์ข้อมูลบาง Setting ที่เกี่ยวข้องกับเทศกาลสงกรานต์ เมื่อวันที่ 31 มี.ค. 65

2) กำลังดำเนินการวางแผนจัดทำข้อมูลแนวโน้มการเข้ามาประเมินตนเองของ CFS Setting ที่เกี่ยวข้อง แบบรายวัน ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 เม.ย. 65 ถึงก่อนสงกรานต์

2.2 มอบหมายสำนักอนามัยผู้สูงอายุประสานงานพื้นที่ เพื่อให้มีการกำกับการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-1ในศาสนสถานช่วงเทศกาลสงกรานต์

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

 

ได้สื่อสารใน line ผู้ประสานงาน

ศาสนสถาน แจ้งเพื่อให้ กำกับ ติดตาม ต่อไป (ตามเอกสาร)

https://bit.ly/3r6zOHe
2.3 มอบกองกฎหมายเป็นหน่วยงานหลักในการรับและตอบเรื่องร้องเรียนหรือข้อหารือ โดยให้ประสานหน่วยงานวิชาการที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม กรณี การประเมิน COVID Free Setting ของสถานประกอบการ/กิจกรรม

กองกฎหมาย

สำนัก/กองวิชาการ
  ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (กรณีสถานีตำรวจนครบาลบางบอน)

อนามัยโพล ประเด็น “ความกังวลและการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคโควิดสายพันธุ์ใหม่”

3.1 มอบหมายกองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ ทำการสื่อสารสร้างการรับรู้ประชาชนเกี่ยวกับความรุนแรงของเชื้อโรคโควิดสายพันธุ์ต่างๆ (XE, BA.2, BA.1, Omicron) วิธีการดูแลและป้องกันตนเอง และกลุ่มเสี่ยง (เด็กและผู้สูงอายุ)จากโควิดสายพันธุ์ใหม่ ตลอดจนประสิทธิภาพของวัคซีนต่อการป้องกันโรคโควิดสายพันธุ์ใหม่

3.2 มอบหมายศูนย์อนามัยประสานงานพื้นที่ เพื่อกำกับ ติดตาม การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19
ในสถานประกอบการต่างๆ และยกระดับการปฏิบัติตามมาตรการโดยมีการสุ่มตรวจประเมินโดยเจ้าหน้าที่

3.3 มอบหมายทุกหน่วยงานสื่อสารประชาสัมพันธ์ และเชิญชวนให้ภาคีเครือข่าย ตลอดจนเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานร่วมตอบแบบสำรวจของอนามัยโพล ครั้งที่ 21 ในหัวข้อ “ปฏิบัติตัวอย่างไร เพื่อป้องกันโรคโควิด 19”

 

กรส.

 

 

 

ศูนย์อนามัย และ สสม.

 

 

ทุกหน่วยงาน

 

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

 

 

-

 

 

-

 

ดำเนินการตามข้อสั่งการ

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

 

หน่วยงานรับทราบ