เดือนสิงหาคม ปีงบประมาณ 2564
| 40 |
|
| 33 |
|
| 7 |
|
|
|
|
| ||
สรุปข้อสั่งการ PHEOC กระทรวง | สานักส่งเสริมสุขภาพและ
|
| สานักส่งเสริมอยู่ระหว่างดาเนินการ และมีการจัดประชุมมาตรการป้องกันดูแลแม่และเด็ก จากสถานการณ์โควิด-19 ในวันที่ 31 ส.ค. 64
กองHL ดาเนินการเผยแพร่ ข่าวประชาสัมพันธ์ | ||
รายงานอนามัยโพล | ทุกศูนย์อนามัย และ
|
| หน่วยงานรับทราบ
ดำเนินการจัดทาหนังสือขอความร่วมมือเรียบร้อยแล้ว | ||
เรื่องเพื่อพิจารณา | นายแพทย์ดนัย ธีวันดา
|
| หน่วยงานรับทราบ
รับทราบ อยู่ระหว่างดาเนินการ | ||
จากกาหนดประชุมอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 31 สิงหาคม – 4 กันยายน 2564 ให้ทุกสานักและกอง เตรียมความพร้อมทั้งเรื่องข้อมูลและบุคลากร ทั้งนี้ หากมีประเด็นพาดพิงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตอบข้อซักถามในรูปแบบสรุปความ ภายใน 5 นาที ผ่านช่องทางที่กองแผนงานกาหนด | ทุกหน่วยงาน | ทุกหน่วยงานรับทราบ | |||
|
|
|
| ||
สรุปข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข | Liaison |
| |||
รายงานการสนับสนุนภาคเอกชนร่วมเปิด CI ชุมชนเมืองในรูปแบบ Social Enterprise และโดรงการ UP Universal Prevention มีข้อเสนอแนะและข้อสั่งการ ดังนี้ | รองดนัยและสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
|
| หน่วยงานรับทราบ
| ||
รายงานสรุปหารือการผ่อนคลายมาตรการร่วมกับปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ได้มอบให้กรมอนามัยจัดทำมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมบุคคลใน Setting ที่จะผ่อนคลายมาตรการ คือ ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหารและเครื่องบิน ประธานมีข้อสั่งการ ดังนี้ |
หน่วยงานที่รับผิดชอบ Setting
|
|
หน่วยงานรับทราบ
| ||
-เครื่องบิน สภาพแวดล้อมในเครื่องบิน ไม่เสิร์ฟอาหาร ระบบระบายอากาศ ใส่หน้ากากตลอดเวลา โอกาสติดยาก ปัญหาคือคน ต้องมีการตรวจ ATK ตรวจก่อนขึ้นเครื่องหรือตรวจที่สนามบิน ซึ่งการตรวจที่สนามบินการท่าอากาศยานพร้อมหรือไม่? ถ้าลืมหรือไม่ได้ตรวจมาการท่าอากาศยานต้องแจ้งเรื่องการเสียค่าใช้จ่าย |
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
|
หน่วยงานรับทราบ
| |||
แผนการกระจาย ATK ขอให้สื่อสารกับตลาดเป้าหมายเป็นการสนับสนุนในช่วงต้น ซึ่งคาดว่าราคาจะถูกในอนาคต จึงขอให้ เจ้าของตลาด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.และคนในตลาดนั้นต้องรับผิดชอบเอง ลองประสานงานกับเลขาสป.สช.ในการใช้งบประมาณชองกองทุนสุขภาพระดับตำบลมาใช้ในการ | สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ | หน่วยงานรับทราบ | |||
|
|
|
| ||
ข้อสั่งการจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข มอบให้นพ.บัญชา ค้าของและกองแผนงาน ดาเนินการ ดังนี้ | รองอธิบดี | หน่วยงานรับทราบ | |||
Anamai poll มีข้อสั่งการ ดังนี้ | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
|
| รับทราบ
| ||
รายงานความก้าวหน้าการสื่อสารสาธารณะ มีข้อสั่งการ ดังนี้ | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ
|
| กอง HL อยู่ระหว่างดาเนินการ
หน่วยงานรับทราบ | ||
3.3ให้นาเสนอมาตรการในที่ประชุม ศปก.ศบค. ให้หญิงตั้งครรภ์ Work From Home เนื่องจากเสียชีวิตจากการติดเชื้อโควิด-19 เพื่อมากขึ้น | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | หน่วยงานรับทราบ อยู่ระหว่างการจัดทาสื่อ และในวันนี้จะมีการแถลงข่าวในประเด็นดังกล่าวที่ไลฟ์ของกระทรวง | |||
รายงานการยกระดับมาตรการของกิจกรรม กลุ่มสถานประกอบการที่มีลักษณะคล้ายสถานบริการ สถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ สถานประกอบกิจการอาบน้าสถานประกอบกิจการอาบอบนวด หรือสถานที่อื่นที่มีลักษณะคล้ายกันมีข้อสั่งการ ดังนี้ | สานักอนามัยสิ่งแวดล้อม
|
| หน่วยงานรับทราบ
รับทราบ | ||
1) มอบนพ.ดนัย ธีวันดา และสานักอนามัยสิ่งแวดล้อม ปรึกษาหารือเลขาศมช. ในประเด็นปัญหาการกาจัดขยะติดเชื้อ ซึ่งควรมีทั้งด้านกฎหมายหรือด้านอื่นๆพิจารณา หรืออาจต้องปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขเพื่อเร่งรัดให้เร็วขึ้น | นพ.ดนัย ธีวันดา | หน่วยงานรับทราบ
สอน.หน่วยงานรับทราบ อยู่ระหว่างดาเนินการ | |||
|
|
|
| ||
1. ประชุม PHEOC มอบให้กรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ร่วมกันจัดเวทีพูดคุยหารือประเด็น New normal of COVID-19 รวมถึงใช้วัคซีนเป็นตัวขับเคลื่อนและผ่อนปรนมาตรการที่ทำให้ภาคธุรกิจอยู่ได้ เพื่อทำเป็น Model สำหรับประเทศไทย ขอให้เร่งจัดประชุมเชิญกรมควบคุมโรคมาร่วมพิจารณา | STAG |
| |||
2. ในการนำเสนอ (ร่าง) แผนปฏิบัติการและแนวทางการบริหารจัดการศูนย์แยกกักตัวในชุมชน ขอให้ปรับให้ชัดเจน เน้นดำเนินการใน 76 จังหวัด ในการประชุมบูรณาการความร่วมมือ 2.1 ประสานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ในประเด็นการเชื่อมต่อระบบข้อมูลของ CI เช่น ตำแหน่งที่ตั้ง จำนวนผู้ป่วยที่รับได้ ความพร้อมในการรับผู้ติดเชื้อ | นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ นายแพทย์ดนัย ธีวันดา และสำนักส่งเสริมสุขภาพ |
| |||
3. การยกระดับมาตรการ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในสถานการณ์โควิด 19 3.1 ให้ใช้กลไกคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก (MCH Board) ขับเคลื่อนการยกระดับมาตรการ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในสถานการณ์โควิด 19 3.2 ปรับแกไขสไลน์นำเสนอโดยให้แยกออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกเป็นสถานการณ์ และส่วนที่สองเป็นมาตรการหรือแนวทาง ทั้งนี้ ให้ปรับคำศัพท์เฉพาะทางการแพทย์ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการสื่อสารภายนอก 3.3 ประสานราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยร่วมแถลงข่าวในประเด็นที่เกี่ยวข้อง | สำนักส่งเสริมสุขภาพ |
| |||
1.จากการรายงานข้อสั่งการ EOC กรมอนามัย ขอให้สำนักส่งเสริมสุขภาพเร่งจัดทำ Death case conference แล้วนำเสนอที่ประชุม EOC กรม ต่อไป | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | หน่วยงานรับทราบ | |||
2.รายงานอนามัยโพล เรื่องข้อมูลที่ประชาชนต้องการในการปฏิบัติตนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนต้องการอันดับแรกคือขอทราบคำแนะนำการปฏิบัติตนเมื่อทราบว่าติดเชื้อและระหว่างรอรถมารับ และรองลงมาเป็นคำแนะนำการกักตัวที่บ้าน ทั้งพื้นที่เข้มงวดสูงสุดและพื้นที่อื่น ๆ ไม่ค่อยมีความแตกต่างกัน ข้อเสนอแนะ การที่ประชาชนต้องการข้อมูลเกิดจากข้อมูลทางด้านสาธารณสุขไม่ถึงประชาชนใช่หรือไม่ 2.1 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ให้จัดสัมมนาภาคีเครือข่ายเพื่อหาประเด็นทางออก เช่น เรื่องการใส่หน้ากาก(มือจับหน้ากาก) การตรวจ ATK การกักตัวและประเด็นอื่นๆ ทางสังคม แนวทางการถามต้องเป็นแบบมุ่งเป้า ข้อไหนที่ประชาชนกังวลสูงสุด หรือเสี่ยงสูงสุด List ออกมา เช่น รอรถ การแพร่เชื้อในบ้านหรือการกักตัว | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ |
| รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ | ||
2.2 ประเด็นความสนใจการใช้ชุดทดสอบการตรวจโควิด-19 ที่บ้านในพื้นที่ที่ไม่ใช่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด นำไปวิเคราะห์ร่วมกันและเชื่อมโยง HI CI | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ/HL/สำนักส่งเสริมสุขภาพ |
| อยู่ระหว่างดำเนินการ | ||
2.3 การจัดทำการรับรู้ข้อมูลการสื่อสาร 2 ทางการเข้าไม่ถึงข้อมูล การไม่อยากรับข้อมูล การสับสนจากข้อมูลข่าวสารที่มาก หลายแห่ง การนำไปใช้ไม่ถูกต้อง HL ศูนย์สื่อสารสาธารณะ มีการจัดการ IO และภาคประชาสังคมอย่างไร ให้ภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินการ จัดเป็นเสวนา ตอบโจทย์ประเทศหรือแค่ศูนย์ แล้วปรับเป็นกระบวนการ | HL /ศูนย์สื่อสารสาธารณะ |
| อยู่ระหว่างดำเนินการ | ||
3.รายงานการOperation รพ.สนามบุษราคัม ศูนย์แรกรับและส่งต่อนิมิตบุตรและศูนย์ฉีดวัคซีนสถานีกลางบางซื่อ ศูนย์แรกรับและส่งต่อนิมิตบุตรมีเรื่องขยะติดเชื้อสะสมเนื่องจากบริษัทไม่ได้เข้ามาจัดเก็บทุกวัน ได้ประสานเพื่อจัดเก็บทุก 2 วัน ข้อเสนอแนะ - มิติผลงานกรมอนามัยในการกำกับติดตามและทำการสื่อสารให้ประชาชนรับทราบเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อ การจัดการน้ำเสีย ดึงข้อมูลสำคัญ สื่อสารสร้างความมั่นใจ ว่าของเสียหรือขยะติดเชื้อจะไม่หลุดรอดออกจากสถานที่เพราะมีกรมอนามัยเฝ้าระวังและกำกับ |
ศูนย์สื่อสารสาธารณะ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
|
อยู่ระหว่างดำเนินการ | ||
4.รายงานมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 สำหรับสถานที่ออกกำลังกาย แบ่งเป็น มาตรการหลัก มาตรการเสริม มาตรการเฉพาะ ตามประเภท setting ออกกำลังกายคือ สถานที่เปิดสาธารณะ สนามกีฬาในร่ม สถานที่ในห้องปิด การจัดงานออกกำลังกาย การจัดการแข่งขันกีฬา ในด้านคนและสถานที่ ข้อเสนอแนะ -มองภาพใหญ่ อาจไม่มองเป็น Setting -มิติที่ต้องมีการทำกิจกรรม การจองคิว การฉีดวัคซีน การตรวจ ATK การตรวจ PCR -ปรับมาตรการใน TSC เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือเพิ่มขึ้น โดยระยะต่อไปให้แนบเอกสาร ให้ประชาชนร้องเรียนไม่น้อยกว่า 10 % การลงตรวจประเมิน ข้อสั่งการ - ให้ทุกสำนักกองนำเรื่องการพิจารณาให้ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งสถานการณ์การระบาด ขีดความสามารถทางการแพทย์ที่จะรองรับ มาตรการรัฐบาลที่ออกมา จัดทำมาตรการ เลื่อน ลด ห้าม ปิดในแต่ละ Setting | ทุกหน่วยงาน | หน่วยงานรับทราบ | |||
5.รายงานการคาดการณ์สถานการณ์การระบาดโควิด-19 และ Healthy Living with Covid แนวทางการคาดการณ์เดือนสิงหาคม ปี 64 ถึงไตรมาสแรกของปี 65 คาดการณ์ระลอกใหม่ผู้ติดเชื้อ ในเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน 2564 จำนวน 22,000-86,000 ราย/วัน ระบบบริการไม่สามารถรับมือผู้ป่วยสะสม ประสิทธิภาพวัคซีน พฤติกรรมส่วนบุคคล สายพันธ์ใหม่ติดง่ายตายไว กระบวนการรักษาและยา สมุนไพร มาตรการของสังคม Healthy Living with Covid-19 กักตัวรายได้หาย มาตรการเข้มงวดไม่สามารถทำกิจกรรมกิจการได้ จากการReview ของประเทศสิงคโปร์ เกิดมาตรการและบรรทัดฐานใหม่ของการดำรงชีวิต มาตรการเร่งรัด การฉีดวัคซีนให้ครอบคลุม 2 ใน 3 ตรวจหาเชื้อเร็ว พัฒนาการรักษา รับผิดชอบต่อสังคมพฤติกรรมร่วมในสังคม ข้อเสนอ รณรงค์เดือนแห่งการสวมหน้ากากโดยเน้นการสื่อสารรูปแบบใหม่ ๆ การให้คำแนะนำตามโซนสี จัดทำรายงานผลกระทบ เป็นศูนย์กลางการรวบรวมข้อมูล กำหนดงานกรมอนามัย What is NEXT เพื่อแก้ไขปัญหา MASK Challenge campaign “21 วัน เพราะรัก จึงใส่แมส” ทำไมต้องใส่MASK ในบ้านเพราะสายพันธุเดลต้าติดต่อกันง่าย เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ เสี่ยงแพร่เชื้อในครัวเรือนสูง ถ้าใส่หน้ากากก่อนการแสดงอาการช่วยลดการแพร่เชื้อได้สูง ต่างประเทศก็ใส่ MASK ในบ้าน เช่น อินเดีย ญี่ปุ่น อินโดนีเชีย โดยเฉพาะถ้าสมาชิกในบ้านมีกลุ่มเสี่ยง การ Rebeand COVID at the right time I-C-V-DO I see We Do สร้างคนไทยตระหนักรู้ ร่วมสู้ สู่สุขภาพใหม่ ข้อสั่งการ ประธานเห็นชอบตามเสนอ ให้เตรียมการเบื้องต้นได้ หลักการต้องเคลื่อนหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมให้ดี รอดำเนินการในช่วงเวลาที่เหมาะสม และมอบหมายการจัดทำประเด็นการขับเคลื่อน ตามเสนอคือ 1.การทบทวนประเมินผลกระทบกลุ่มวัย มิติสุขภาพ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ การเข้าถึงบริการ 2.การออกแบบแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนมาตรการลดความเสี่ยงในบ้าน(M-A-S-K) 3. I-C-V-DO I see We Do 3.1 พัฒนา Conceptual Framework 3.2 แผนกลยุทธ์/การสื่อสาร พัฒนาเป็น National Campaign 3.3 การขับเคลื่อนมาตรการกิจกรรม กิจการ สถานประกอบการ -พัฒนาแพลตฟอร์ม Certificate of Entry -พัฒนามาตรการ เกณฑ์รองรับและการกำกับ Setting |
Cluster กลุ่มวัย
สำนักส่งเสริมสุขภาพ /HL / ศูนย์สื่อสารสาธารณะ STAG กองแผนงาน HL HL - กองแผนงาน สำนัก/กองวิชาการ |
|
หน่วยงานรับทราบ
HL จะนำเสนอที่ประชุม EOC หน่วยงานรับทราบ HL จะนำเสนอที่ประชุม EOC
หน่วยงานรับทราบ | ||
6.1 รายงานความคืบหน้า Certificate of Entry โดยการสาธิตการใช้สติกเกอร์ wristband prototype ข้อเสนอแนะ 1. ความง่ายต่อการใช้งาน ใช้งานง่าย 2.ความถูกต้อง พิจารณาผลต้องถูกต้อง การปฏิบัติต้องถูกต้องและคนต้องถูกต้อง ข้อสั่งการ เห็นชอบในข้อเสนอ 1.ตั้งคณะทำงาน โดยให้ รมช.ลงนามเพื่อง่ายต่อการขับเคลื่อน 2.เชิญเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จัดประชุมเครือข่ายร่วมกัน 3.ประสานกับเครือข่ายจังหวัด |
กองแผนงาน |
|
หน่วยงานรับทราบ | ||
1.1เร่งสร้างความเข้าใจในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ถึงผลข้างเคียงการได้รับวัคซีน 1.2 หามาตรการช่วยเหลือ และการจัดการความรู้ รณรงค์ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1.3 ดำเนินการ Death case conference วิเคราะห์ย้อนหลัง กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่เสียชีวิตจากการติดเชื้อ COVID-19 พิจารณาสาเหตุการติดเชื้อ พิจารณาตั้งแต่รู้ติดเชื้อจนถึงการรับยา ความล่าช้าในการตรวจช้าป่าว และเมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้วได้รับการรักษาช้าหรือไม่เพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือ และ Stamp จาก MCH Board | สำนักส่งเสริมสุขภาพ |
| |||
2. ดำเนินการสื่อสารและจับประเด็นในสังคมจาก Social media | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ, HL |
|
| ||
3. เห็นชอบกรอบแนวคิดในการสนับสนุนการจัดตั้ง Community Isolation (CI) 3.1 ประสานกระทรวงมหาดไทย (สถ,ปภ) พม. และ สปสช. เร่งดำเนินการในการขับเคลื่อนให้เกิดการเตรียมความพร้อม และจัดตั้ง CI ในภูมิภาค 3.2 สนับสนุนการจัดตั้ง CI และมอบศูนย์อนามัย ประสานสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและจังหวัด | ศูนย์อนามัยทุกแห่ง สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง |
|
| ||
4. วิเคราะห์การคาดการณ์จัดการมูลฝอยติดเชื้อและการทำ Matching ควบคู่ไปด้วย และนำเสนอในที่ประชุม ศปก. ศบค.ภายในสัปดาห์หน้า จัดทำสรุปสถานการณ์ใน Slide สุดท้าย และปรับ Slide ตามข้อเสนอแนะ ดังนี้
| สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม |
| |||
5. ผลการขับเคลื่อน Phuket Sandbox 5.1 ปรับเป้ากับ Name list ใน TSC ให้ครบ สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันกันรวมทั้งศูนย์อนามัยอื่นๆ 5.2 ระบบหลังบ้านระหว่าง SHA กับ TSC ควรปรับฐานให้เท่ากัน 5.3 เร่งดำเนินงานให้มี Certificate entry | นพ.บัญชา ค้าของ/กองแผนงาน ศูนย์อนามัยทุกแห่ง/สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง |
| |||
1.รายงานอนามัยโพล - จากผลการสำรวจอนามัยโพลและการตรวจจับข่าวประเด็นการฉีดวัคซีนโควิด มอบศูนย์สื่อสารสาธารณะและกล่อง HL นำข้อมูลรายงานอนามัยโพลดังกล่าวไปประกอบการสื่อสาร รายงานความก้าวหน้ากล่อง OP - ให้ทีมลงพื้นที่เน้นย้ำมาตรการป้องกันตนเองเป็นพิเศษ รวมถึงให้ดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อป้องกันการติดเชื้อระหว่างการลงพื้นที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยง - ให้เก็บรวบรวมภาพถ่ายพร้อมรายละเอียดในการลงพื้นที่ปฏิบัติงาน โดยให้บันทึกเป็น key message แต่ละครั้ง และมอบให้งาน KM ของสำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รวบรวมและทำเป็นจดหมายเหตุของกรมอนามัย - การลงพื้นที่ปฏิบัติงานถือเป็นการช่วยเหลือระดับบุคคล ชุมชน สิ่งที่ต้องดำเนินการควบคู่กันคือการสร้างการรับรู้ถึงภารกิจของกรมอนามัยเพื่อให้ประชาชนเข้าใจและรับรู้อย่างถูกต้อง รายงานความก้าวหน้ากล่องสื่อสาร - ให้เอารูปภาพการลงพื้นที่ปฏิบัติงาน รูปภาพที่สื่อความหมายดีๆ รูปภาพการช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง การช่วยเหลือประชาชน หรือการทำงานในวันหยุด เอามาร้อยเรียงทำเป็นคลิปวิดีโอประกอบเพลงเพื่อสื่อสารสร้างกำลังใจ | ศูนย์สื่อสารสาธารณะและคณะทำงาน HL
คณะทำงาน OP และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ศูนย์สื่อสารสาธารณะ |
| ศส.รับทราบ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว
หน่วยงานรับทราบ
ศส.รับทราบ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว | ||
2.รายงานความก้าวหน้าการจัดการศพผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 - ให้ประสานและหารือเพื่อทำความเข้าใจในขั้นตอนมาตรฐานและข้อเสนอกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะขั้นตอนการยืนยันสาเหตุการตายให้ร่วมกับกรมการแพทย์ กบรส. ตำรวจ และนิติเวช ทบทวนขั้นตอนอีกครั้ง ขั้นตอนการแจ้งตาย โดยกรมการปกครองได้จัดทำ SOP ที่ลดขั้นตอนการดำเนินการแล้ว ข้อเสนอการเพิ่มประสิทธิภาพเตาเผาศพ ได้ดำเนินการร่วมกับกรม สบส. รวมถึงข้อเสนอการสนับสนุนองค์ความรู้ วัสดุอุปกรณ์ และการสงเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการทำศพให้ประสานหารือกับ สพฉ. และสำนักงานพระพุทธศาสนาก่อน โดยให้ได้ข้อสรุปทั้งหมดภายในสัปดาห์นี้ แล้วจึงนำเสนอ EOC กระทรวงฯ เพื่อทราบ และรับฟังข้อเสนอแนะ ที่เกี่ยวข้อง | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | หน่วยงานรับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ | |||
3.การยกระดับมาตรการที่พักประเภทคอนโดมิเนียม แฟลต หรือที่พักลักษณะเดียวกัน - มาตรการที่พักประเภทคอนโดมิเนียม แฟลต หรือที่พักลักษณะเดียวกันให้รองรับ Home Isolation โดยภายในสัปดาห์นี้ให้ประสานหารือกับสมาคมนิติบุคคลอาคารชุด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคม อปท. และการเคหะแห่งชาติ ถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ ความเข้มข้นในการปฏิบัติ และความต้องการความช่วยเหลือ - มาตรการควรเขียนให้ครอบคลุม 3 เรื่องคือ 1. ต้องให้รับทราบว่าในปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก จึงย่อมมี Home Isolationในคอนโดมิเนียม 2. คนที่ติดเชื้ออยู่ระหว่างการรอเตียง เป็นกลุ่มผู้ติดเชื้อสีเหลืองหรือกึ่ง สีแดง ซึ่งอาจมีจำนวนน้อยลง 3. กลุ่มสัมผัสเสี่ยงสูงที่ถูกกักตัวในคอนโดมิเนียม ต้องสื่อสารกับสังคมว่าสถานการณ์มาถึงจุดนี้แล้ว จำเป็นต้องยอมรับและอยู่ร่วมกันอย่างไร จะช่วยเหลืออย่างไร ให้เขาอยู่ได้โดยไม่แพร่กระจายเชื้อโรค และคนอื่นที่อยู่ร่วมกันก็มีความปลอดภัย จุดสำคัญต้องอย่าให้ผู้ติดเชื้อออกนอกห้อง รวมถึงพิจารณาจุดสัมผัสร่วม ระบบการระบายอากาศร่วม - ให้ศูนย์สื่อสารสาธารณะถอดเนื้อหามาตรการพร้อม Key message สำคัญ จัดทำเป็นชุด infographic เพื่อสื่อสารประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปพร้อมกัน | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และศูนย์สื่อสารสาธารณะ | หน่วยงานรับทราบ
หน่วยงานรับทราบ
ศส.รับทราบ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว | |||
4.การยกระดับมาตรการบริการขนส่งสาธารณะ - ด้วยมาตรการคำสั่งของ สบค. ในขณะนี้ได้สั่งปิดหรือจำกัดบริการขนส่งสาธารณะเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น การยกระดับมาตรการบริการขนส่งสาธารณะ จึงขอให้เตรียมไว้และปรับชื่อเป็นการ Re-open หรือ Exit strategy เพื่อรองรับมาตรการผ่อนคลายในระยะต่อไป | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | หน่วยงานรับทราบ | |||
5.พิจารณาความเสี่ยงของบุคลากรในหน่วยงาน ซึ่งมีโอกาสติดเชื้อได้ โดยถ้าบุคลากรติดเชื้อหรือมีความเสี่ยงก็ให้ใช้มาตรการทำงานที่บ้าน (WFH) และในกรณีบุคลากรติดเชื้อให้ผู้บังคับบัญชาดูแลให้เข้าสู่ระบบ HI หรือ CI หรือในกรณีถ้ามีอาการให้เข้ารับการรักษาใน รพ.สนาม หรือ รพ. แล้วแต่กรณี | ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง | หน่วยงานรับทราบ | |||