คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนธันวาคม  ปีงบประมาณ 2565

 

0

 

 

0

 

 

0

 

 

 

1. เร่งรัดสื่อสาร เผยแพร่มาตรการ VUCA กำกับติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 เพื่อลดความเสี่ยงการระบาดในพื้นที่

ทุกหน่วยงาน

   

รับทราบ

2.1 สื่อสารสร้างการรับรู้เน้นย้ำให้ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 เช่น สวมหน้ากากเมื่ออยู่กับผู้อื่นภายในบ้าน และงดการรับประทานอาหารร่วมกัน ควรแยกสำรับเพื่อลดความเสี่ยง งดการจัดเลี้ยงปีใหม่ในสถานที่ปิด หากมีการจัดเลี้ยงให้จัดนอกอาคาร ที่มีการระบายอากาศที่ดี เปิดประตู หน้าต่างระบายอากาศ เป็นต้น

กอง HL

 

 

2.2 มอบหมายทุกหน่วยงานสื่อสารเจ้าหน้าที่ ที่จะเดินทางกลับภูมิลำเนาช่วงเทศการปีใหม่ ดูแลสุขภาพของตนเอง เคร่งครัดการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยแบบครอบจักรวาล (Universal Prevention) และ DMHTA พร้อมคัดกรองตนเองด้วย Thai Save Thai รวมทั้งตรวจสอบด้วย ATK ก่อนเดินทางกลับภูมิลำเนาเพื่อความปลอดภัยของตนเองและครอบครัว

ทุกหน่วยงาน

   

รับทราบ

3.1 มอบหมายกอง HL สื่อสารสร้างการรับรู้ประชาชนให้เคร่งครัดการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยแบบครอบจักรวาร (Universal Prevention) โดยเฉพาะในสถานที่ที่คนส่วนใหญ่จะไปในช่วงเทศกาลปีใหม่ ได้แก่ สถานที่ท่องเที่ยว และศาสนสถาน

กอง HL

 

 

3.2 มอบหมายศูนย์อนามัยประสานงานพื้นที่ เพื่อกำกับ ติดตามการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด – 19 ของสถานที่ท่องเที่ยวและศาสนสถานอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะประเด็นที่เป็นข้อห่วงกังวลจากประชาชน เช่น การแสดงใบประกาศ COVID Free Setting หรือ SHA หรือ Thai Stop COVID plus ที่สถานที่ท่องเที่ยวให้เห็นชัดเจน การทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วม ห้องน้ำ ห้องส้วม ทุก 1 – 2 ชั่วโมง และคัดกรองความเสี่ยงก่อนเข้าด้วย “ไทยเซฟไทย”

ศูนย์อนามัย และ สสม.

 

 

4.1 มอบหมายทุกหน่วยงานเร่งรัดให้บุคลากรในหน่วยงานกดติดตามเพจ Facebook “ผู้พิทักษ์อนามัย (COVID WATCH) และร่วมแนะนำ ติชม หรือร้องเรียนสถานประกอบกิจการผ่านช่องทางดังกล่าว

ทุกหน่วยงาน

   

รับทราบ

5.1 มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  1. มอบหมายสำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักส่งเสริมสุขภาพกองการเจ้าหน้าที่ และกองแผนงาน จัดทำมาตรการ แนวทาง และวิธีการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่กรมอนามัยในช่วงเทศกาลปีใหม่ โดยแบ่งเป็นแนวทางวิธีการปฏิบัติก่อนปีใหม่ ระหว่างปีใหม่ และกลับหลังปีใหม่ โดยเร่งรัดสื่อสารใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติให้กับเจ้าหน้าที่ในช่วงเทศกาลปีใหม่
     2. มอบหมายทุกหน่วยงาน ยึดถือแนวทางการปฏิบัติมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ตามที่กรมอนามัยกำหนด และให้พิจารณาแนวทางตามคำสั่งที่จังหวัดในพื้นที่กำหนดร่วมด้วย

สกท./ สส./ กจ./ กผ.

 

 

 

 

ทุกหน่วยงาน

 

 

5.2 แผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2565
  1. มอบหมายสำนักงานเลขานุการกรม เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ประสานงาน การสนับสนุนยานพาหนะ และวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับป้องกันการติดเชื้อวัสดุโควิด – 19 เพื่อรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในช่วงเทศกาลปีใหม่
     2. มอบหมายกล่อง Operation ประสานขอความร่วมมือจากทุกหน่วยงานกรมอนามัยส่วนกลาง เพื่อแจ้งรายชื่อเจ้าหน้าที่ในสังกัดร่วมจัดทีมปฏิบัติการระดับพื้นที่รองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด – 19 ในช่วงเทศกาลปีใหม่ระหว่างวันที่ 31 ธันวาคม 2564 – 3 มกราคม 2565 โดยขอให้ส่งรายชื่อมายังสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายในวันที่ 29 ธันวาคม 2564 และนำเสนอต่อที่ประชุม EOC กรมอนามัย ในวันพฤหัสบดีที่ 30 ธันวาคม 2564

สลก.

 

 

 

สว. ประสานทุกหน่วยงาน

 

 

6.ข้อเสนอมาตรการความปลอดภัยในการจัดงานวันเด็ก ปรับรายละเอียดและนำเสนอ (ร่าง) ข้อสนอมาตรการความปลอดภัยในการจัดงานวันเด็ก ปี 2565 ในการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข ในวันพุธที่ 29 ธันวาคม 2564 และประสานผู้เกี่ยวข้อง ทั้งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด/กทม. ฝ่ายปกครอง และสาธารณสุข ในการควบคุมกำกับการปฏิบัติตามมาตรการฯ ของผู้จัดงานวันเด็กในพื้นที่

สกท./ กผ./ กป.

 

 

7. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการจากทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับประสิทธิภาพของหน้ากากประเภทต่าง ๆ เพื่อใช้ในการกรองเชื้อโรคโควิด – 19 สายพันธุ์โอมิครอน พร้อมจัดทำอินโฟกราฟฟิก หรือสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ สำหรับใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างการรับรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ประชาชน

กป.

 

 

รายงานอนามัยโพล

1) เพื่อการสื่อสาร เสนอให้กอง HL สื่อสาร เน้นย้ำ ให้ประชาชน มีพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล (Universal Prevention) อย่างเคร่งครัด

2) เพื่อการกำกับติดตาม เสนอให้สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมนำผลสำรวจอนามัยโพลไปใช้ประโยชน์ในการกำกับติดตามการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคของระบบขนส่งสาธารณะ และเน้นย้ำให้ปฏิบัติตามมาตรการ COVID Free Setting อย่างเคร่งครัด

 

กอง HL

 

สว

 

 

กอง HL ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

 

หน่วยงานรับทราบ

รายงานความก้าวหน้า OP / logistic / HL

1) ให้ HL ร่วมกับกป.ติดตามสถานการณ์และสื่อสารการป้องกัน กรณี PM 2.5 ตามสถานการณ์

2) ประเด็นโควิด 19 ควรสื่อสารออกไปเป็นระยะ โดยเริ่มตั้งแต่ก่อนหยุดปีใหม่ โดยเฉพาะการเคลื่อนย้าย เดินทาง รวมถึงการใกล้ชิดกันในครอบครัว โดยสาระที่สื่อออกไปต้องลงรายละเอียดและมีความชัดเจน

 - รายงานความก้าวหน้า OP เรื่อง การลงพื้นที่ส่งเสริมการปฏิบัติตามมาตรการ CFS สำหรับสถานบริการขนส่งสาธารณะ

- มีข้อพิจารณาที่เป็นความเสี่ยงในกรณีการเดินทางที่เป็นกลุ่ม เช่น เช่ารถกลับร่วมกัน ควรต้องสื่อสารในการแนะนำและคำเตือน โดยน่าจะต้องทำมาตรการความปลอดภัยสำหรับทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ รวมถึงคำแนะนำในเรื่องการดูแลตนเองในการรวมกลุ่มกัน

 HL + กป.

 

 

 

 

สว.และHL

 

1.กอง HL ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

 2.กองป. ดำเนินการแล้ว โดยติดตามสถานการณ์และสื่อสารเตือนภัยด้วยอินโฟกราฟิครายวันและให้คำแนะนำในการปฏิบัติตนผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ

  

กอง HL ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

มาตรการ New Year Countdown ภายใต้สถานการณ์ COVID-19

- การกำกับในพื้นที่กทม. ขอให้สสม. และกป.ช่วยติดตามสถานการณ์และการดำเนินการอย่างใกล้ชิดร่วมกับกทม.และผู้จัดงานปีใหม่ รวมถึงในส่วนของภูมิภาคขอให้ศอ.ได้ร่วมกับจังหวัดที่ตั้ง ในประเด็นที่ มีการเตรียมความพร้อมแต่ไม่เป็นไปตามที่เตรียมไว้

- อาจต้องสื่อสารให้คนที่ร่วมงานเช่นนี้ต้องเฝ้าระวังและประเมินตัวเองอย่างน้อย ๗ วัน และระวังในการเข้าหากลุ่มเปราะบาง และประเมินความเสี่ยงก่อนกลับเข้าที่ทำงาน โดยใช้ชุดทดสอบ หากมีความเสี่ยง

กป

 

 

กป. สสม. ศอ. กรส.

 

ดำเนินการแล้ว โดยประสานงานร่วมกับกทม. และ สสจ.  และเตรียมจัดทำแผนกำกับการดำเนินงานในเทศกาลปีใหม่

 

หน่วยงานรับทราบ

รายงานสถานการณ์แนวโน้มและแนวทางการดำเนินงานด้านการแพทย์และสาธารณสุขกรณีฝุ่นละอองขนาดเล็ก

1) สามารถใช้การคาดการณ์ไปชี้เป้าเชิงนโยบายในการจัดการเชิงรุกกับสาเหตุ เช่น ในกทม. เกิดจาก ควันรถ โรงงาน บ้านเรือน ในต่างจังหวัดเกิดจากการเผา เป็นต้น และอาศัยภาพรวมของภาคีเครือข่าย ร่วมกับการใส่ intervention ลงไป เช่น WFH แต่ต้องชี้เป้าให้ชัดว่ามาจากสาเหตุนั้นจริงหรือไม่

2) การ advocate ทั้งในระดับพื้นที่ ระดับตัวบุคคล ต้องสื่อสารให้ชัดเจนในเรื่องผลกระทบต่อสุขภาพ และการป้องกัน ต้องยกระดับการสื่อสาร

3) ให้ศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพระยะยาวเพื่อสร้างความตระหนักในการป้องกันตนเองแก่ประชาชน

กป   รับทราบและดำเนินการ

1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดการดำเนินงานตามข้อสั่งการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง     รับทราบ

2.1 จัดทำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 การจัดงานการจัดกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่  

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ    

2.2 จัดทำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 สำหรับกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี โดยประสานกับกระทรวงวัฒนธรรม

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

   
2.3 จัดทำมาตรการประเด็น NO COVID area เพื่อเตรียมเป็นของขวัญปีใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2565 สำหรับประชาชน  ทีม STAG    

3.1 มอบหมาย กอง HL สื่อสาร สร้างความเข้าใจประชาชนเกี่ยวกับการเปิดให้บริการร้านอาหารที่มีการจำหน่ายแอลกอฮอล์ ในช่วง Countdown โดยเน้นย้ำมาตรการ UP อย่างต่อเนื่อง และเตรียมการสื่อสารประเด็นการคุมเข้มตามมาตรการสำหรับสถานประกอบกิจการเสี่ยงประเภท โรงแรม แหล่งท่องเที่ยว การขนส่งสาธารณะ และการจัดการห้องส้วม และสื่อสารการปฏิบัติตามมาตรการฉลองปีใหม่ที่บ้าน

3.2 มอบหมายทีม STAG ประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบปรับมาตรการ CFS Setting ต่างๆ ให้สอดคล้องกับมาตรการเข้าออกพื้นที่ของนักท่องเที่ยวให้มีความเข้มข้นในเชิงวัคซีน และการได้รับการตรวจ ATK ของพนักงาน โดยให้เน้นในสถานที่เสี่ยงเป็นสำคัญ เช่น ร้านอาหาร โรงแรม ห้างสรรพสินค้า 

กอง HL

 

 

 

 

 

ทีม STAG

   

4.1 ขอให้ทีมของสำนักสุขาภิบาลอาหารที่ลงพื้นที่รวบรวมข้อมูล เพื่อเป็นข้อมูลสื่อสาร สำหรับข้อมูลที่หน่วยงานส่งตามแบบฟอร์มของสำนักอนามัยสิงแวดล้อมให้กอง HL นำมาเป็นข้อมูลในการสื่อสาร

4.2 มอบหน่วยงานวิชาการที่เกี่ยวข้องเร่งรัดดำเนินการจัดทำข้อมูลวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของกอง HL
ให้เป็นไปตามแผนการแถลงข่าวประจำสัปดาห์ ของกรมอนามัย

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/กอง HL

 

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
   

5.1 มอบหมายศูนย์อนามัย และ สสม. ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นช่วยลงในระบบใน COVID Free Setting โดยอ้างมติของ ศบค. สร้างการรับรู้ให้ทุกจังหวัด กำกับ ติดตามให้สถานประกอบกิจการเสี่ยงให้ปฏิบัติตามมาตรการ COVID Free Setting ครอบคลุมทุกพื้นที่

ศูนย์อนามัย 1-12 และ สสม.    
6.1 (ร่าง) มาตรการปลอดภัยในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปรับคำให้มีความชัดเจน และสไลด์ปิดท้ายให้นำเสนอมาตรการกำกับติดตาม
6.2 (ร่าง) มาตรการ NO COVID AREA (คืนรอยยิ้มใต้หน้ากาก) ปรับเรื่องการมีกิจกรรมในพื้นที่ปิดต้องใส่หน้ากากและเรื่องของมีระบบรองรับการยืนยันความปลอดภัยนอกจากนี้เพิ่มสถานที่อื่นๆ มากกว่าสวนสาธารณะ เป็นสถานที่เปิดโล่งและไม่มีที่พัก

กองแผนงาน

   

1. อนามัยโพล

มอบหมายให้ทีมอนามัยโพล เชื่อมโยงข้อมูลด้านพฤติกรรมจากอนามัยโพล กับข้อมูลสังเกตการปฏิบัติตามมาตรการ COVID Free Setting ในสถานที่ต่างๆ เพื่อชี้เป้าการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค
ทีมอนามัยโพล   รับทราบ และอยู่ระหว่างดำเนินการ และจะมีการนำเสนอในครั้งต่อไป

2. สื่อสาร

2.1 มอบหมายให้กอง HL รายงานความก้าวหน้าว่าจากการกรองข่าวตามความเสี่ยงระดับต่างๆ ได้มีการแก้ไขอย่างไรแล้วบ้าง และให้ติดตามการดำเนินการประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานนอกกรมอนามัย

2.2 มอบหมายให้กอง HL วิเคราะห์ว่าทำไมข่าวประเด็น “เตือน ใช้กาวร้อนสำหรับติดอุปกรณ์จัดฟัน” คนจึงเข้าถึงจำนวนมาก เพื่อนำมาพัฒนาการสื่อสารในประเด็นอื่นๆ ให้น่าสนใจและให้คนเข้าถึงจำนวนมาก

2.3 มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานทั้งส่วนกลางและภูมิภาค กดไลค์ติดตามเพจ “ผู้พิทักษ์อนามัย COVID Watch Thailand” และรายงานในระบบ google form

2.4 มอบหมายให้ทีม OP ศูนย์อนามัย สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้เครือข่ายในพื้นที่ กดไลค์ติดตามเพจ “ผู้พิทักษ์อนามัย COVID Watch Thailand”

 

กอง HL

 

กอง HL

 

ทุกหน่วยงาน (ส่วนกลาง

และภูมิภาค)

 

ทีม OP ศูนย์อนามัย

 

 

 

 

-

 

 

-

 

 

 

 

-

 

-

หน่วยงานรับทราบ

อยู่ระหว่างการดำเนินการ

 

ดำเนินการวิเคราะห์เรียบร้อยแล้ว

 

ทุกหน่วยงานรับทราบ

 

หน่วยงานรับทราบ

3. Operation

3.1 มอบหมายให้กองแผนงาน ทีม OP ศูนย์อนามัย และผู้รับผิดชอบหน้างาน นำข้อจำกัด/ข้อท้าทายของพื้นที่จากการขับเคลื่อนมาตรการ COVID Free Setting  มาหารือร่วมกัน เพื่อพัฒนาและปรับปรุง ระบบ COVID FREE SETTING / Thai Stop COVID plus

3.2 มอบหมายทีม STAG นำมาตรการต่างๆ มา normalize ให้ simplify (เมื่อ impact และความกังวลลดลง) โดยให้คงเหลือประเด็นหลักๆไว้

กองแผนงาน / ทีม OP / ศอ. / ผู้รับผิดชอบหน้างาน

 

ทีม STAG

-

 

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

 

อยู่ระหว่างการดำเนินการ

4. COVID FREE SETTING ศอ.12

มอบหมายให้กองแผนงานเชิญกลุ่ม Start up (คนภายนอก) มาให้ความคิดเห็นต่อการพัฒนา Dashboard ของ Thai Stop COVID และระบบข้อมูลภายในระบบ เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงให้มีความ friendly มากขึ้น
กองแผนงาน  

หน่วยงานรับทราบ

อยู่ระหว่างการดำเนินการ

5. COVID FREE SETTING ศอ.10

มอบหมายให้ศูนย์อนามัยที่ 10 พิจารณาเรื่องเงื่อนไขการเข้าสถานที่ต่างๆ โดยหากใครไม่มีผลการฉีดวัคซีน ให้ประเมินความเสี่ยงและตรวจโควิดด้วยชุดทดสอบ ATK
ศอ.10  

หน่วยงานรับทราบ

อยู่ระหว่างการจัดทำเงื่อนไข และจะนำเสนอที่ประชุมต่อไป

รายงานความก้าวหน้าโครงการเงินกู้ ปี 2564 กรมอนามัย

6.1 มอบหมายให้กองแผนงาน ปรับปรุงรายการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์/หลักเกณฑ์การทบทวนรายการฯ โดยให้แล้วเสร็จภายใน ธ.ค.64

กองแผนงาน   กองแผนงานได้พิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑ์ตามของสภาพัฒน์ และส่งให้กระทรวงภายใน ธ.ค. นี้
7.ของขวัญปีใหม่กระทรวงสาธารณสุข

7.1 มอบหมายให้ทีม STAG นำข้อสั่งการจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข มาจัดทำของขวัญปีใหม่ เรื่อง No COVID Area (ประชาชนไม่ต้องสวมหน้ากาก ภายใต้เงื่อนไข เช่น เป็นพื้นที่เปิดโล่ง ตรวจ ATK ก่อนเข้า กำหนดพื้นที่จังหวัดละแห่ง พื้นที่ควบคุมการเข้าออกได้) ทั้งนี้ให้พิจารณาชื่อเรื่อง กำหนดเกณฑ์และขอบเขตดำเนินงาน โดยทำให้ simplify (แบบ normal) ภายใต้ ecosystem และส่งให้ผู้บริหารพิจารณาผ่านกลุ่มไลน์

7.2 มอบหมายให้ท่านรองสราวุฒิ บุญสุข พิจารณาเรื่องที่จะเสนอเป็นของขวัญปีใหม่ของสำนักทันตสาธารณสุขและสำนักโภชนาการ

7.3 มอบหมายให้สำนักสุขาภิบาลอาหาร ปรับชื่อของขวัญปีใหม่ให้สื่อความหมายถึงการช่วยลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มคำว่า “30,000 คนแรก” 

 

ทีม STAG

 

 

 

 

ท่านรองสราวุฒิ

 

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

 

 

 

 

-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ดำเนินการจัดทำสไลด์เพื่อนำเสนอเรียบร้อยแล้ว

 

 

 

รับทราบ

 

รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ

8.1 การเฝ้าระวังสถานการณ์และแนวโน้มฝุ่น 2.5 มอบหมายให้กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน เนื่องจากช่วงนี้เป็นช่วงของการเปิดเรียน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  

ทราบและอยู่ระหว่างดำเนินการ โดยได้จัดส่งเเนวทางลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)

สำหรับสถานศึกษาและจะมีการประชุมชี้แจงแนวทางป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพในสถานศึกษา ร่วมกับ กทม.และกรมการแพทย์ วันที่ 20 ธค. 64

8.2 มอบหมายให้กอง HL นำข้อมูลอนามัยโพลที่พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจมีความกังวลว่าฝุ่น 5 ทำให้โควิดระบาดมากขึ้น มาสื่อสาร สร้างความรอบรู้ให้ประชาชนในการเตรียมตัวรับมือฝุ่น PM2.5 และลดความกังวล กอง HL   ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

8.3 มอบหมายให้หน่วยงานระดับเขตในพื้นที่เสี่ยง ได้แก่ สสม. ศอ. 4 6 7 8 9 10 ดังนี้

  • เฝ้าระวังสถานการณ์ 5 สื่อสาร ให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพประชาชน
  • เฝ้าระวังอาการและพฤติกรรมการป้องกันตนเอง ตามเครื่องมือที่ได้พัฒนาขึ้นมา ผ่าน Line และ Web Application
  • ประชาสัมพันธ์ให้ร่วมตอบแบบสำรวจอนามัยโพล เรื่อง “การเตรียมตัวรับมือ 5 อย่างไร”

     รายงานผลการดำเนินงานทุกสัปดาห์

 

สสม. และ ศอ. 4 6 7 8 9 10

 

-  

 

หน่วยงานรับทราบ