เดือนกุมภาพันธ์ ปีงบประมาณ 2564
| 43 |
|
| 42 |
|
| 1 |
|
1.กรมอนามัยดำเนินการยกระดับมาตรการป้องกันและควบคุมโรคสำหรับพื้นที่ตลาด 1.1 ปรับเกณฑ์ประเมินตนเองสำหรับตลาดในระบบ Thai Stop COVID เพิ่มเรื่องระบบระบายอากาศให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 1.2 การประเมินความเสี่ยง“ตลาด” รองรับการระบาดของโรค COVID ระลอก 2 ให้จัดเตรียมความพร้อมในส่วนของเครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อการตรวจวัดการระบายอากาศ - การประชุม OC กรมอนามัย (24 กุมภาพันธ์ 2564) เรื่องผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ตลาดสุชาติ และตลาดพรพัฒน์ จังหวัดปทุมธานี - การประชุม BMW กระทรวงสาธารณสุข (25 กุมภาพันธ์ 2564) เรื่องมาตรการและแนวทางการประเมินความเสี่ยงสำหรับตลาด - การประชุม ศบค. (1 มีนาคม 2564) เรื่องมาตรการและแนวทางการประเมินความเสี่ยงสำหรับตลาด เพื่อการขับเคลื่อนภาพประเทศ - การประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข (3 มีนาคม 2564) ภาพรวมและสรุปผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ตลาดทั้งหมด | สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ | ||||
1.3 พิจารณาแนวทางการประเมินความเสี่ยงของตลาดประเด็นการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์เช่น เครื่องวัดการระบายอากาศ เครื่องวัดออกซิเจน เครื่องวัดทิศทางลม | SRT และสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
2.ประเด็นอนามัยโพล ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเครื่องมือตรวจวัดเชิงรุก และกำหนดเป็นตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข 2.1 รายงานผลการสำรวจอนามัยโพลในประเด็นจำนวนผู้ตอบและพฤติกรรมการใส่หน้ากากของประชาชนภาพประเทศ พร้อมทั้งให้ปรับมิติในการวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดให้เสนอรายงานผลที่ประชุม BMW กระทรวงสาธารณสุข (25 กุมภาพันธ์ 2564) 2.2 ออกแบบการสำรวจอนามัยโพลในพื้นที่เฉพาะ (Sentinel site) เพื่อการตรวจจับประเด็นน่าสนใจในพื้นที่ และพิจารณาเพิ่มเป้าหมายจำนวนการตอบแบบสำรวจที่ชัดเจน | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (คณะทำงานอนามัยโพล) |
|
| ||
3. รายงานแผน ผล และความก้าวหน้าการดำเนินงานเรื่องวัคซีนสำหรับเจ้าหน้าที่กรมอนามัยทั้งส่วนกลางและภูมิภาค โดยให้มีการแยกกลุ่มเจ้าหน้าที่เป็น 3 กลุ่มตามความเร่งด่วนและจำเป็นในการได้รับวัคซีน 1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการส่วนหน้าในพื้นที่เสี่ยงสูงสุด 2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการจากส่วนกลางที่ลงพื้นที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยง 3. เจ้าหน้าที่สนับสนุนภายในหน่วยงาน กำหนดให้รายงานแผน ผล และความก้าวหน้าการดำเนินงานในที่ประชุม OC กรมอนามัย (สัปดาห์ถัดไป) | นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ (รองอธิบดีกรมอนามัย) และกองการเจ้าหน้าที่ |
| |||
1. จัดทำหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัด ให้มีการสำรวจโครงสร้าง การระบายอากาศ และสุขลักษณะของตลาดทุกแห่ง | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ และสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
2. รายงานความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานพื้นที่ตลาด ในที่ประชุม PHEOC | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ | ||||
3. รายงานแผน ผล และความก้าวหน้าการดำเนินงานเรื่องวัคซีนสำหรับเจ้าหน้าที่กรมอนามัยทั้งส่วนกลางและภูมิภาค | Finance and Administration | ||||
4. จัดทำมาตรการและแนวทางปฏิบัติงานส่วนหน้าในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิค และให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด | STAG และ Operation | มีหนังสือแจ้งเวียนทุกหน่วยงาน | |||
5. รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมการใส่หน้ากากของประชาชนแยกเป็นระดับเขตและจังหวัดในที่ประชุม OC กรมอนามัย และในการประชุม BMW เป็นระยะ | คณะทำงานอนามัยโพล | ||||
6. รายงานความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานภายใต้โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับจัดสรรงบกลางฯ โควิด ในที่ประชุม OC กรมอนามัย | กองแผนงาน | ||||
1. เพิ่มคำแนะนำด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (พื้นที่หรือจุดที่สัมผัสบ่อยๆ เช่น เครื่องสแกนนิ้ว) และเปิดเวทีแลกเปลี่ยนกับ คร. เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่เป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่ | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
2. จัดประชุมหารือเพื่อออกแบบการสื่อสารความรู้ของกรมอนามัยไปสู่นักศึกษา โดยสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาฝึกงาน | กป. / สว. / สอน. / ศส. | ||||
3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวน SOP การลงพื้นที่อย่างปลอดภัยของ เจ้าหน้าที่กรมอนามัย โดยเชิญพนักงานขับรถยนต์เข้าร่วมฝึกปฏิบัติ | สำนักเลขานุการกรม | ยังไม่ได้ดำเนินการ | |||
4. ทำหนังสือแจ้ง คสจ. ทุกจังหวัด ให้รายงานสถานการณ์ของตลาดในพื้นที่ | สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ และ ศูนย์กฎหมายสาธารณสุข | ||||
5. ทำหนังสือถึงกรมโยธาธิการ เรื่องการปรับปรุงโครงสร้างตลาดให้ได้มาตรฐาน | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
1. ทบทวนกลยุทธ์การป้องกันและควบคุมโรคสำหรับพื้นที่ตลาด และเสนอให้ดำเนินกิจกรรมการล้างตลาดควบคู่ไปกับการจัดการพฤติกรรมเสี่ยงทั้งในกลุ่มผู้ค้า ผู้ซื้อ และแรงงานต่างด้าวผ่านมาตรการ DMHTT | สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ | ||||
2. เพิ่มประเด็นการสำรวจความเชื่อมั่นของประชาชนต่อตลาดไม่แพร่โควิด รวมถึงสำรวจพฤติกรรมการสวมหน้ากากของผู้ค้าโดยเฉพาะแรงงานต่างด้าว | กองประเมินผลกระทบฯ | ||||
3. พิจารณาทบทวนเกณฑ์การประเมินในระบบ TSC Plus ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น โรงงานที่มีแรงงานต่างด้าว เป็นต้น | คณะทำงาน Thai Stop COVID Plus | ||||
4. แนวทางการดำเนินงานเชิงรุกต่อสถานการณ์ COVID-19 กลุ่มวัยผู้สูงอายุ นอกจากมุ่งเน้นเนื้อวิชาการแล้วให้พิจารณาเรื่องการปฏิบัติการเชิงสื่อสารในมุมมองที่เร้าใจ (Dramatic) ยิ่งขึ้น พร้อมทั้งพิจารณาช่องทางการสื่อสารให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
5. ระบบการเก็บข้อมูลของ Save Thai เพื่อความง่ายต่อการเข้าใช้ (Friendly User) กำหนดไม่ให้มีการบันทึกข้อมูลทั่วไปและข้อมูลผลการประเมินคัดกรองทั้ง 5 ด้านของผู้เข้าใช้งาน แต่ให้มีการเก็บเฉพาะข้อมูลสรุปผลการประเมินความเสี่ยง พร้อมชื่อและรหัสของผู้ใช้งานเท่านั้น และระยะถัดให้มีการขออนุญาตเก็บข้อมูลทั้งหมดได้เพื่อการศึกษาวิจัยเท่านั้น | กองแผนงาน | ||||
1. จากข้อเสนอแนะมอบให้ศูนย์สื่อสารสาธารณะเผยแพร่ข้อมูลให้กับประชาชนได้รับทราบ | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
2.จากรายงานสรุปข้อมูลผู้ติดเชื้อโควิดที่มีประวัติเชื่อมโยงกับตลาดของกรมควบคุมโรค ให้ดำเนินการทบทวนมาตรการหรือคำแนะนำเรื่องการเว้นระยะห่างหรือฉากกั้นสำหรับตลาดให้เหมาะสมและสามารถดำเนินการได้จริง | สำนักสุขาภิบาลอาหารและนำ | ||||
3. นำข้อมูลจำนวนการตอบแบบสำรวจและร้อยละการสวมหน้ากากของประชาชนรายจังหวัด เสนอในที่ประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข หรือ TWM เพื่อสื่อสารผลการสำรวจและเป็นอีกช่องทางในการกระตุ้นจังหวัดให้ความร่วมมือทำแบบสำรวจให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
4. จากการนำเสนอการขับเคลื่อนนโยบาย “3 สร้าง” สะอาดทั่วไทย อยู่อย่างปลอดภัย มั่นใจไร้ COVID-19 ด้วยแพลตฟอร์ม Thai Stop COVID Plus กองแผนจะจัดทำหนังสือขอความร่วมมือให้หน่วยงานรับผิดชอบหลักกระตุ้นและขับเคลื่อนสถานประกอบการประเมินตนเองผ่าน Thai Stop COVID และมีมติปรับเปลี่ยนหน่วยงานรับผิดชอบ ดังนี้
| กองแผนงาน | ||||
5. ปรับแบบประเมินตนเองของสถานประกอบการประเภทโรงงาน โดยกำหนดให้แยกตามขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
1. จัดทำคำแนะนำหรือแนวทางปฏิบัติสำหรับกิจการดูแลผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานต่างด้าว และพิจารณาจัดทำเป็นมาตรการทางกฎหมาย ขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมดำเนินการต่อไป | สำนักอนามัยผู้สูงอายุศูนย์บริหารกฎหมายฯ | 1. ดำเนินการจัดทำมาตรการความรู้ ตาม พรบ.สาธารณสุข และกฎหมาย ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ 2.ดำเนินการจัดประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง | |||
2. ประเด็น “ดูแลผิวอย่างไร...ปลอดภัยจาก PM2.5” ให้พิจารณาเลือกประเด็นการสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง (RRHL) ที่น่าสนใจ และสื่อสารให้ประชาชนเข้าถึงและเข้าใจต่อไป | คณะทำงาน HL | ||||
3. รวบรวมผลการดำเนินงานทั้งระดับส่วนกลางและศูนย์อนามัยผ่านเว็บไชต์ระบบ EOC กรมอนามัย | Operation | ||||
4. ขับเคลื่อนนโยบาย “3 สร้าง มั่นใจ ด้วย Thai Stop COVID” ให้ประสานความร่วมมือกับสมาคมธนาคารไทย และสภาอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานภาคีร่วมดำเนินงานและบรรจุโลโก้หน่วยงานดังกล่าวในแพลตฟอร์ม | กองแผนงานและ คณะทำงาน TSC | ||||
5. รายงานการลงพื้นที่การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สถานประกอบการประเภทโรงงาน (Good Factory Practice) ณ บริษัท อินเด็กซ์อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขามหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
1. มอบ Operation ลงพื้นที่ดำเนินงานเรื่อง Good Factory Practice สรุปผลและแผนสนับสนุนการดำเนินงานพื้นที่โรงงาน จ.สมุทรสาคร เสนอ PHEOC 8 หรือ 10 ก.พ.64 | Operation | ทีม Operation ลงพื้นที่ GFP ร่วมกับภาคีเครือข่ายและ จ.สมุทรสาคร วันที่ 8-9 ก.พ. 64 | |||
2. จัดทำคำแนะนำลดพฤติกรรมเสี่ยง "ดื่มแก้วเดียวกัน" และการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ในสถานบันเทิง ผับ บาร์ | STAG | ||||
3. Anamai poll สรุปข้อมูลผลการสำรวจระดับจังหวัด เสนอ PHEOC หรือ BMW ต่อไป | กองประเมินผลกระทบฯ | สรุปผลสำรวจระดับจังหวัดนำเสนอ OC กรมอนามัย 10 ก.พ.64 | |||
4. คทง. TSC Plus นำเสนอกรอบระยะเวลา (Timeline) ขับเคลื่อนระบบฯ ไปยัง ศบค. | กองแผนงาน , คณะทำงาน TSC Plus | คทง. TSC Plus กำหนด Timeline เสนอ OC กรมอนามัย | |||
1. สื่อสารประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการลดความเสี่ยงในการใช้บริการขนส่งสาธารณะในช่วงเทศการตรุษจีนและช่วงหยุดยาว | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
2. เตรียมพร้อมมาตรการหรือแผนรองรับการเคลื่อนไหวของประชาชน จากการผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมมากขึ้น เพิ่มความระมัดระวังเรื่องปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กที่อาจเกิดขึ้นควบคู่กัน | STAG | ||||
3. กำกับติดตามสถานประกอบการหรือกิจกรรมที่มีการผ่อนคลายผ่านระบบ Thai Stop COVID Plus โดยเตรียมความพร้อมใช้งานของระบบในการรองรับข้อมูลปริมาณมาก หารือแนวทางการขับเคลื่อนกับ ศบค. ชุดเล็ก ควบคู่ไปกับการหารือความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและนอกกรมอนามัย | กองแผนงาน และคณะทำงาน TSC Plus | ||||
4. วิเคราะห์ผลกระทบจากการเรียนออนไลน์ทั้งด้านสุขภาพ ผลการเรียนของโรงเรียนระดับต่างๆ รวมถึงสายอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษาและจัดทำมาตรการแนวปฏิบัติสำหรับการจัดระบบการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาและอาชีวะศึกษาภายใต้สถานการณ์ปัจจุบัน | STAG คณะทำงาน HL | ||||
5. ผลักดันและส่งเสริมการใช้ “แอพพลิเคชั่น Save Thai” สำหรับสถานประกอบการขนาดกลางถึงเล็กหรือสถานประกอบที่ยังไม่มีระบบคัดกรองดังกล่าว | กองแผนงาน | ||||
6. Campaign “Stop COVID-19 in Elderly People” ในกลุ่มผู้สูงอายุ ให้มีการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมความคิดเห็นจากภาคีเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นำข้อมูลมากำหนดประเด็นสื่อสารและจัดกิจกรรมรณรงค์ต่อไป | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
1. จัดทำมาตรการสำหรับงานเลี้ยง การกินอาหารร่วมกันกับกลุ่มญาติพี่น้อง และมาตรการรวมกลุ่มทำกิจกรรมสำหรับสูงอายุ สื่อสารมาตรการให้กับประชาชน | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ สำนักอนามัยสูงอายุ/ศูนย์สื่อสาร | ||||
2. จัดทำยุทธการระดับ National Campaign วัยเรียนวัยรุ่น เน้นการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน | สำนักส่งเสริมสุขภาพและสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ | ||||
3. ประสานความร่วมมือผ่านการจัดประชุมสัมนากับผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และภาคีที่เกี่ยวข้อง ออกแบบกิจกรรม National Campaign ให้แล้วเสร็จภายในสัปดาห์นี้ | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
4. Application E-passport เร่งรัดการดำเนินงานตามที่ออกแบบ เพื่อความทันเวลา และกำหนดให้ใช้ชื่อ“Save Thai” | กองแผนงาน |