เดือนกุมภาพันธ์ ปีงบประมาณ 2565
| 20 |
|
| 20 |
|
| 0 |
|
|
|
|
| ||
เรื่องสืบเนื่อง 1 สรุปสถานการณ์โควิด-19 จาก PHEOC กระทรวงฯ (รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. บทบาทกรมฯ ต้องชัดเจนในการกำกับ ติดตาม ดูแล setting เน้นการลงพื้นที่ และสื่อสารให้ประชาชนมั่นใจ หน่วยงานเชื่อมั่น ทั้ง HL และ OP ต้องทำปฏิบัติการ 2. ต้องเข้าไปช่วยservice บางส่วน activate การทำ HI, CI และดูแลหญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในกทม. 3. ให้พื้นที่รณรงค์การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันหญิงตั้งครรภ์ โดยกระตุ้นให้หญิงวัยจเริญพันธุ์/ เตรียมมีบุตร รวมถึงคนในครอบครัวที่มีหญิงตั้งครรภ์ให้ฉีดวัคซีนทุกคน 4. ฝากพื้นที่ดูแลให้โรงเรียนต้องจัดระบบตามมาตรการ school zone, school isolation | กผ.
หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ” ศอ.
” | หน่วยงานรับทราบ | |||
รายงานอนามัยโพล 1.เพื่อการสื่อสาร เสนอให้กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพสื่อสาร ดังนี้ 1.1. ให้คำแนะนำเรื่อง Home Isolation (HI) และการปฏิบัติตนหลังรักษาการติดเชื้อโควิด19 เพื่อป้องกันภาวะ “Long COVID” 1.2. นำผลสำรวจอนามัยโพล ไปใช้ประกอบการสื่อสาร เน้นย้ำให้ประชาชน มีพฤติกรรมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ การสวมหน้ากากตลอดเวลา ล้างมือเป็นประจำและเว้นระยะห่าง 2). เพื่อกำกับติดตาม เสนอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลในประเด็นกิจกรรม/ความเสี่ยงที่พบเห็นในชุมชนบริเวณที่พักอาศัยไปใช้ประโยชน์ในการกำกับติดตามการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในประเด็นที่ประชาชนพบเห็นในชุมชนมากที่สุด ได้แก่ 2.1.พบเห็นตลาดสด ตลาดนัด แออัด ไม่เว้นระยะห่าง เสนอสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ศูนย์อนามัยที่ ๑-๑๒ และ สสม. เน้นย้ำ กำกับติดตามให้ตลาดมีการปฏิบัติตาม COVID Free settingโดยเฉพาะควบคุมและจำกัดคนไม่ให้แออัด และไม่ให้พ่อค้า/แม่ค้าในตลาดกินข้าวร่วมกัน 2.2 พบเห็นการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มในชุมชนอย่างแออัด ไม่เว้นระยะห่าง มีคนไม่สวมหน้ากากหรือสวมไม่ถูกต้อง เสนอให้ ศูนย์อนามัยที่ ๑-๑๒ และสสม.กำกับติดตามการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มในชุมชนและเน้นย้ำพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค 2.3 พบเห็นนักเรียนไม่สวมหน้ากากหรือสวมไม่ถูกต้อง เสนอคลัสเตอร์วัยเรียนเน้นย้ำให้โรงเรียน/สถานศึกษา สื่อสารให้คำแนะนำนักเรียนให้สวมหน้ากากตลอดเวลาและสวมอย่างถูกต้อง - ที่ประขุม รับทราบ และมีข้อสั่งการ ดังนี้ 1. ให้หา correlation ของการเว้นระยะห่างกับการไม่สวมหน้ากากในตลาด โดยนำเสนอในครั้งหน้า 2.ฝากศอ.๑๑ดูแลกรณีพบการติดเชื้อสูงมากในจ.นครศรีธรรมราช (อันดับ ๔ ของประเทศ) ซึ่งพบเกิดจากการไปใช้บริการผับที่ลักลอบเปิดบริการโดยไม่มีการเว้นระยะห่างและไม่สวมหน้ากาก | กรส.
หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
สอน.+ ศอ. ”
กป.
ศอ.๑๑ |
|
หน่วยงานรับทราบ
อยู่ระหว่างดำเนินการและจะนำเสนอในวันพฤหัสบดีที่ 3 มี.ค.65 หน่วยงานรับทราบ | ||
รายงานของกอง HL - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อสั่งการดังนี้ 1. ให้ กรส.พิจารณาการปรับแก้ไขในประเด็นที่กลุ่มวัยเรียนเสนอให้ปรับการสื่อสารในมาตรการ UP ของโรงเรียนเป็นมาตรการ ๖0๗ เพื่อให้สอดคล้องกับศบค. 2. ให้ กผ.ติดตามงบฯกลางเพื่อนำมาใช้ในการเผยแพร่สื่อที่กรส.จะดำเนินการ 3.4.2. รายงานของ OP โดยเสนอ ให้ทุกหน่วยงานจัดทำแผนการลงพื้นที่ (สถานประกอบการ ตลาด ร้านอาหาร และชุมชนแออัด) เพื่อให้การสนับสนุนทีม OP กรมอนามัย ร่วมปฏิบัติการมายังสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายในวันที่ 1 มีนาคม 2565 จะมีหนังสือแจ้งหน่วยงานให้เสนอแผนต่อไป - ที่ประชุม รับทราบ ให้ดำเนินการตามข้อเสนอ โดยมีข้อสั่งการเพิ่มเติมดังนี้ 1. ให้ กรส. สื่อสารประชาชนและนักเรียนเข้าใจถึงความรุนแรงของ Omicron ที่มีน้อย ไม่ควรสื่อสารเป็นจำนวนการติดเชื้อซึ่งทำให้เกิดความตื่นตระหนก เมื่อติดเชื้อแม้อาการไม่มากก็พยายามจะเข้ารักษาในรพ.ทำให้เกิดปัญหาคอขวดในการรับ case ของ 1330 | กรส.
กผ.
กรส. |
| กรส. ได้ดำเนินการปรับตามข้อสั่งการเรียบร้อยแล้ว
หน่วยงานรับทราบ
ดำเนินการตามข้อสั่งการ | ||
เรื่องเพื่อทราบ : 4.1. สถานการณ์การบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อสั่งการ ให้สว.ดำเนินการ ดังนี้ 1.ให้ monitor ระบบให้มีประสิทธิภาพตามที่ประมาณการณ์ไว้ 2.ย้ำหนังสือแนวทางการจัดการขยะให้ชัดเจนถึงการแยกขยะไม่ติดเชื้อออกไป โดยในขณะนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นการรักษาตัวในระบบ HI ซึ่งส่วนใหญ่จะไม่ใช่ขยะติดเชื้อ ดังนั้นให้ทำหนังสือถึงกระทรวงหรือออกในนามเลขากสธ.ถึงประธานกสธ.โดยเน้นเรื่องการลดปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ และสื่อสารให้ประชาชนเข้าใจ 3. ให้หน่วยงานที่ร่วมกันจัดการฯ ต้องดำเนินการจนกว่าสถานการณ์คลี่คลาย 4.จัดทำหนังสือแจ้งคณะกรรมสาธารณสุขจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการกำกับ ติดตามการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่ พร้อมสื่อสารสร้างการรับรู้ประชาชนเพื่อลดปริมาณมูลฝอยติดเชื้อในชุมชน และลดการเผาที่ไม่จำเป็น 5. สื่อสารเน้นย้ำให้ประชาชนเข้าใจและปฏิบัติในการแยกขยะให้ถูกต้องตามที่กรมอนามัยกำหนดไว้ เพราะเป็นเรื่องสำคัญมากเนื่องจากขยะอื่นจะรบกวนระบบการเผาทำให้ไม่ได้ประสิทธิภาพ |
สว. | อยู่ระหว่างดำเนินการฯ ตามข้อสั่งการ และอยู่ระหว่างดำเนินการ ร่างหนังสือถึงกระทรวงฯ | |||
4.2 สรุปการประชุมปรึกษาหารือการบริหารจัดการโควิด-19 สู่โรคประจำถิ่น (รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
| กผ. | ทุกหน่วยที่เกี่ยวข้องรับทราบ | |||
เรื่องอื่นๆ : 6.1. ให้ติดตามสถานการณ์จากสธ.และนำข้อมูลจาก SAT มาแชร์ให้ SAT กรมอนามัยและผู้เกี่ยวข้องทราบ 6.๒. ให้ผอ.กผ.วิเคราะห์สถานการณ์ แนวโน้มความจำเป็นในการเพิ่ม/ลดวันประชุม EOC กรม โดยให้รายงานในครั้งหน้า | ผู้เกี่ยวข้อง กผ. | หน่วยงานรับทราบ | |||
1. ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามข้อสั่งการ PHEOC | ทุกหน่วยงาน |
| รับทราบ | ||
2. ข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข 2.1 มอบหมายคลัสเตอร์วัยเรียน หารือร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการจัดทำข้อมูลสรุปสถานการณ์ และมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 สำหรับโรงเรียน และสถานศึกษา โดยครอบคลุมมาตรการในช่วงการเปิดเรียน พิจารณาข้อมูลโรงเรียนที่ไม่เปิด ผู้รับผิดชอบในการสั่งการ ส่วนเรื่องการเปิดสอบต้องส่งเสริมให้มีการสอบ โดยขอให้ คลัสเตอร์วัยเรียนสรุปมติจากที่ประชุมหารือดังกล่าว เสนอต่อที่ประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข พิจารณาในวันพฤหัสบดีที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 ถ้าวาระที่ประชุมมีจำนวนมากเสนอเป็นเอกสารเพื่อทราบ และนำเสนอที่ประชุม ศปก.ศบค.ต่อไป | Cluster วัยเรียน สำนักส่งเสริมสุขภาพ
|
| |||
3. อนามัยโพล ประเด็น “กิจกรรม เทศกาลสำคัญเดือนกุมภาพันธ์ และการสังเกตความเสี่ยงและการปฏิบัติตามมาตรการป้องโรคของสถานที่ท่องเที่ยว” 3.1 มอบกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเฝ้าระวังในประเด็นของฝุ่น PM 2.5 3.2 มอบทีมอนามัยโพลพิจารณาถึงการตั้งคำถาม โดยก้าวข้ามโควิด – 19 เช่น ประชาชนต้องอยู่กับโควิดอย่างไร มีกิจกรรมอะไรบ้างที่ทำไม่ได้จากสถานการณ์โควิด – 19 รวมทั้งมีผลต่อมิติอื่นๆ ด้วย | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ |
| |||
4. รายงานความก้าวหน้ากล่อง HL 4.1 มอบกองเสริมสร้างความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ ตรวจจับข่าวให้มีความครอบคลุมทันต่อสถานการณ์ รวมถึงการตอบโต้ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัยในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และขอให้ปรับแนวทางการสื่อสารโดยใช้ Social Listening เพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลายมิติ พร้อมกำหนดกลยุทธ์การสกัดกั้นข้อมูลที่เป็นความขัดแย้ง และข้อมูลเท็จก่อนเผยแพร่ 4.2 มอบกองเสริมสร้างความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพสื่อสารการเปิดโรงเรียนในสถานการณ์การระบาดของโควิด – 19 โดยประสานคลัสเตอร์สตรีและเด็กปฐมวัย คลัสเตอร์วัยเรียนวัยรุ่นพิจารณาข้อมูล จำนวนเด็กที่ไปเรียนจำนวน จำนวนนักเรียนที่ติดเชื้อ จำนวนนักเรียนที่มีอาการรุนแรง สาเหตุการติดเชื้อ วิเคราะห์ความคุ้มค่าในการเปิดโรงเรียนกับการติดเชื้อ ฯลฯ เพื่อที่จะได้ประมวลข้อมูลสื่อสารอย่างเหมาะสม | กรส. |
| |||
5. เรื่องเพื่อพิจารณา 5.1 (ร่าง) มาตรการความปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) ในการจัดกิจกรรมที่มีการรวมกลุ่มคนในชุมชน ระหว่างสถานการณ์การระบาดโควิด – 19 และกลไกกำกับ - มอบหมายกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ปรับ (ร่าง) มาตรการความปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) ในการจัดกิจกรรมที่มีการรวมกลุ่มคนในชุมชน ระหว่างสถานการณ์การระบาดโควิด – 19 และกลไกกำกับ โดยปรับกราฟ ข้อความให้มีความชัดเจนมากขึ้น สำหรับเกณฑ์พิจารณาความเสี่ยงให้แยกเป็นเสี่ยงทั่วไปและเสี่ยงสูง เสี่ยงสูงให้ตรวจโดยใช้ ATK ซึ่งต้อง List กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง การวิเคราะห์ความเสี่ยงต้องมี Logic สามารถไปปฏิบัติได้ ปรับแล้วให้เสนอที่ประชุม EOC กรมอนามัยวันที่ 17 ก.พ.65 เสนอในการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 22 ก.พ.65 และนำเสนอที่ประชุม ศปก.ศบค. วันที่ 24 ก.พ.65 | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ |
| |||
6. เรื่องอื่น ๆ - มอบหมายให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมการทบทวนมาตรการ COVID Free Setting รองรับกรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 เริ่มเข้าสู่ภาวะปกติ โดยให้เตรียมจัดทำมาตรการที่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข โดยเน้นการดำเนินการด้านสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน รวมทั้งเป็นไปตามแนวปฏิบัติด้านการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย เพื่อให้เกิดการบังคับใช้ตามกฎหมายในระดับพื้นที่ต่อไป | ทุกหน่วยงาน |
| รับทราบ | ||
รายงานอนามัยโพล - ข้อเสนอ ๑) เพื่อการสื่อสาร เสนอให้กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพนำผลการสำรวจอนามัยโพลไปใช้ในการสื่อสาร คำแนะนำการป้องกันโรคเมื่อไปสถานที่ต่างๆ ในช่วงเทศกาลเดือน ก.พ. (ได้แก่ ไปทำบุญ เวียนเทียนที่วัด และไปเที่ยว รับประทานอาหารกับคู่รัก ที่ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว) ๒) เพื่อการกำกับติดตาม เสนอให้สำนักอนามัยผู้สูงอายุ และศูนย์อนามัยที่ 1-12 และ สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง นำผลอนามัยโพลไปใช้ประกอบการกำกับติดตาม เน้นย้ำการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค ในวัดและศาสนสถาน โดยเฉพาะข้อที่พบว่าทำได้น้อย และมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรค ได้แก่ - การสวมหน้ากากตลอดเวลาและสวมอย่างถูกต้อง - ติดใบประกาศ COVID Free Setting ที่วัดและศาสนสถาน ให้เห็นชัดเจน - คัดกรองความเสี่ยงก่อนเข้าด้วย "ไทยเซฟไทย“ - ถังขยะมีฝาปิดมิดชิด และไม่มีขยะล้นออกมานอกถัง - ห้องน้ำ ห้องส้วมสะอาด ไม่มีกลิ่น ไม่มีน้ำขัง - ที่ประขุม รับทราบ และ ผอ.กผ. เสนอแนะ.ให้เจ้าภาพ setting มี OP ลงไปช่วยนอกจากการสื่อสารด้วย เช่น จัด event | กอง HL
สอส.+ศอ.+สสม.
|
| ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว เช่น การป้องกันตนเองเมื่อไปวัดทำบุญ
สอส. จะมีการแถลงข่าวของกรมอนามัยร่วมกับกรมการศาสนา ในวันที่ 15 ก.พ. 65 เกี่ยวกับมาตรการป้องกัน CFS , Setting ศาสนสถาน และผ่านทาง Facebook Live ศอ.และสสม. รับทราบ
| ||
การขับเคลื่อนมาตรการป้องกัน COVID-19 และการส่งเสริมสุขภาพในช่วงวันมาฆบูชา - ที่ประชุม รับทราบและเห็นชอบตามที่เสนอ โดยประธานขอให้คงระยะการประเมิน CFS ในศาสนสถานทุก ๒ สัปดาห์ตามเดิมก่อน เนื่องจากสถานการณ์การติดเชื้อช่วงนี้เพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะในช่วงวันมาฆบูชาขอให้ไปกำกับติดตามเป็นพิเศษ และผอ.กผ.เสนอแนะว่าควรต้องมีการสื่อสารกับsettingให้เข้าใจถึงความสำคัญและความจำเป็นในการดำเนินการ แนะนำให้จัด conference เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจกับพระคิลาฯ นอกจากใช้ LINE | สอส.+ศอ.+สสม. | หน่วยงานรับทราบ | |||
เรื่องเพื่อทราบ : 1. การขับเคลื่อนมาตรการป้องกัน COVID-19 และการส่งเสริมสุขภาพในช่วงวันวาเลนไทน์ - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะให้ HL ร่วมกับสอพ. สื่อสารความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์รวมถึงมาตรการป้องกันโควิด CFS และ VUCAในกิจกรรมต่างๆ ในช่วงวันวาเลนไทน์ 2. การขับเคลื่อนมาตรการป้องกัน COVID-19 และการส่งเสริมสุขภาพในช่วงงานมาราธอน กทม.(รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะให้กองกิจกรรมฯ และศอ.ช่วยสนับสนุนและเผยแพร่มาตรการฯ | HL+สอพ.
กองกิจกรรมฯ |
| ดำเนินการร่วมกันกับ สอพ. เรียบร้อยแล้ว
หน่วยงานรับทราบ | ||
เรื่องอื่นๆ : ประธานขอให้ช่วยกันเผยแพร่ INFO ความรู้ของ รพ. จุฬาฯ เรื่อง ภาวะ MIS-C ที่เกิดหลังการติดเชื้อโควิดในเด็ก เพื่อลดความรุนแรงและอัตราการเสียชีวิต | ศ.สื่อ+HL | ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว | |||
1. ข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข 1.1 มอบหมายสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ดำเนินการจัดทำมาตรการ COVID Free Setting สำหรับการจัดรายการโทรทัศน์ การแสดงละคร โดยพิจารณาเรื่องมาตรการสวมหน้ากากของผู้ดำเนินรายการหรือนักแสดง และมาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมกับรูปแบบกิจกรรมดังกล่าว 1.2 มอบหมาย สสม. และ ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี กำกับ ติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในตลาด พร้อมตรวจสอบ วิเคราะห์ โดยเฉพาะพื้นที่ที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดปทุมธานี และให้นำเสนอต่อที่ประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้ทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดการระบาดของโรคที่เพิ่มสูงขึ้นและกำหนดมาตรการการดำเนินงานต่อไป | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
สสม. และ | ||||
2. อนามัยโพล ประเด็น “ผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล Universal Prevention” 2.1 มอบหมายกองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ นำผลสำรวจอนามัยโพลไปใช้ประกอบการสื่อสารเน้นย้ำให้ประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ DMH ได้แก่ การสวมหน้ากากตลอดเวลา ล้างมือเป็นประจำ และเว้นระยะห่าง รวมทั้ง สร้างความรอบรู้เรื่องอัตราค่าปรับสวมหน้ากากและการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และนำข้อมูลสาเหตุของการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการ UP ประกอบการจัดทำคำแนะนำสำหรับสื่อสารประชาชนต่อไป | กรส. | ||||
3. เรื่องอื่น ๆ - ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมข้อมูลนำเสนอที่ประชุม EOC กรมอนามัย ตามมติที่ประชุมในข้อเสนอแผนปฏิบัติการจากการคาดการณ์สถานการณ์ในช่วงเดือนมกราคม – เมษายน 2565 โดยกองแผนงานจะลงข้อมูลหน่วยงานและวันที่นำเสนอที่ประชุม EOC กรมอนามัยในกลุ่มไลน์ STAG ให้รับทราบ | หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง | รับทราบ |