ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ
| 89 |
|
| 89 |
|
| |
|
1. ปรับสัญลักษณ์ยิ้มของสีฟ้าในแผนที่ PM2.5 แยกตามกลุ่มอาการ | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
2. จัดทำแผนปฏิบัติการระดับประเทศสำหรับผู้สูงอายุและครอบครัว | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
3. ลงพื้นที่เปิดเมืองตามนโยบาย รมว.สธ. ห้างสรรพสินค้า จ.ระยอง และห้างเซ็นทรัล พัทยา จ.ชลบุรี | Operation | ||||
4. ลงพื้นที่สร้าง HL แม่และเด็ก 1 ก.พ. 64 จ.ตาก ขอรับการสนับสนุนทีมส่วนกลาง และวัสดุสนับสนุน | Operation | ||||
1. ประสาน สสจ.สมุทรสาครเพื่อบูรณาการงานภายใต้ยุทธการควบคุมโรค Bubble and Seal และ Accommodation Quarantine ในโรงงาน | Operation | ||||
2. ตรวจสอบ Timeline กลุ่มการติดเชื้อในระลอก 2 ว่ามีความสัมพันธ์หรือติดเชื้อจากร้านอาหารหรือไม่ อย่างไร | STAG | ||||
3. ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่ร่วมลงพื้นที่ให้มีการรีวิวคำแนะนำหรือติชมลงในสื่อออนไลน์ของเครือข่ายนั้นๆ | ศูนย์สื่อสารสาธารณะHL | ||||
4. จัดทำข่าวแจกเพื่อประชาสัมพันธ์การประชุมหารือแนวทางการบูรณาการระหว่างกระทรวงแรงงานและกรม | |||||
5. ทบทวนมาตรการหรือคำแนะนำสำหรับการออกกำลังกายในฟิสเนต | กองกิจกรรมทางกายฯ | ||||
1. ออกแบบระบบติดตามและรายงานผลดำเนินงานตามข้อสั่งการผ่านระบบออนไลน์ เสนอที่ประชุม EOC กรม 29 ม.ค. 64 | กองแผนงาน | ||||
2. สื่อสารเน้นย้ำวิธีปฏิบัติในการจัดการศพที่เสียชีวิตจากโควิดไปยัง สสจ. และสร้างความเข้าใจแก่ประชาชน | สำนักอนามัยผู้สูงอายุศูนย์บริหารกฎหมายฯกองประเมินผลกระทบฯ | ||||
3. สื่อสารเน้นย้ำเรื่องพฤติกรรมการป้องกันโรคในศาสนสถาน และแจ้งผลสำรวจ Anamai poll แก่ สสจ. | |||||
4. ขับเคลื่อน “3 สร้าง” สะอาดทั่วไทย อยู่อย่างปลอดภัย มั่นใจไร้ COVID-19 | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์สื่อสารสาธารณะ HL |
| |||
1. ทบทวนระบบการประเมินความพร้อมของสถานศึกษา โดยใช้ Platform TSC และเป็น Single entry | คลัสเตอร์วัยเรียน กองแผนงาน | ||||
2. ชี้แจงแนวทางปฏิบัติภายใต้โครงการยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชนฯ รองรับการระบาด COVID-19 และส่งเสริมการใช้ Platform กลาง | กองแผนงาน | ||||
3. กำหนดหลักเกณฑ์จ่ายค่าตอบแทนเสี่ยงภัย แนวทางปฏิบัติการเบิกจ่ายและการตรวจสอบการเบิกจ่ายงบกลางโควิด | กองคลังและ กลุ่มตรวจสอบภายใน | ||||
4. ปรับรายละเอียดรูปแบบและสีโลโก้ TSC ให้เหมาะสม เสนอ EOC กรม 27 ม.ค. 64 | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
1. กำหนดมาตรฐานกลางการดำเนินงานสำหรับ สปก. สถานศึกษา และร้านอาหารตามการแบ่งพื้นที่ภายใต้มาตรการการควบคุมแบบบูรณาการ | STAG | ||||
2. ขอสนับสนุนหน้ากากอนามัยชนิด N95 industrial grade สำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะศอ.5, 6 | Logistic | ||||
3. ยุทธการคนไทยปลอดภัยโควิด 2564 ให้ทบทวนประเด็นสำคัญ key massage/Strategy/แนวทางปฏิบัติการ นำเสนอ EOC กรม | STAG | ||||
4. เสนอวาระข้อเสนอมาตรการเปิดเรียนใหม่ในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 สำหรับสถานศึกษา ในที่ประชุม PHEOC วันที่ 26 ม.ค. 64 | สำนักส่งเสริมสุขภาพ และ Laison | ||||
5. ออกแบบการปฏิบัติการในพื้นที่จ.สมุทรสาคร มุ่งเน้น Factory Quarantine ตลาดนัด ศูนย์การค้า และศูนย์เด็กเล็ก | Operation ศูนย์อนามัยที่ 5 และ หมูป่า 5 | ||||
1. ประสาน สสจ.ร่วมลงพื้นที่ประเมินความพร้อมตลาดกลางกุ้ง จ.สมุทรสาคร ยกระดับมาตรฐานการสุขาภิบาล | ศูนย์อนามัยที่ 5 | ||||
2. จัดทำแนวทางบริหารจัดการกระบวนการผลิตที่เป็นความเสี่ยงของ พนง. ในตลาดกลางค้าส่งและตลาดอาหารแช่แข็ง | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ | ||||
3. วิเคราะห์ทิศทางและคาดการณ์แนวทางการดำเนินงานของกรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ประเทศ | สำนักคณะกรรมการผู้ทรงฯ | ||||
4. จัดกิจกรรมรณรงค์ "ต้นแบบผู้สูงอายุปรับตัวและอยู่ได้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19" และขับเคลื่อนผ่าน อสม. | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
5. ทบทวนมาตรการ/คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้สูงอายุใน 13 setting ตามประกาศผ่อนคลายของกรุงเทพฯ | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
1. จัดทำมาตรการและคำแนะนำกลุ่มเปราะบางระดับครัวเรือน เน้นมาตรการเข้มข้นกว่า DMHTT | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
2. ปรับมาตรการสุขาภิบาลตลาดให้เหมาะสม โดยเฉพาะ จ.สมุทรสาคร และเสนอ ศบค. ชุดเล็ก | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ | ||||
3. จัดแถลงข่าวกรมอนามัยเชิญชวนเครือข่ายธนาคารแห่งประเทศไทยส่งเสริมการใช้ e-อั่งเปา | สำนักทันตสาธารณสุข ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
4. ออกแบบโลโก้ ปรับ E-certificate ออกแบบโปสเตอร์และ Sticker ติด สปก. เสนอที่ประชุม EOC กรม วันที่ 25 ม.ค. 64 | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
5. เชื่อมระบบประเมินสถานศึกษา สพฐ. และ TSC หารือถึงความเป็นไปได้ในการประชุมภาคีเครือข่าย ศธ. วันที่ 25 ม.ค. 64 | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
1. ส่งเสริม PA ปชส. กิจกรรมก้าวท้าใจ ทำรายการอาหารที่เหมาะสมให้กับกลุ่ม ปชช.ที่ถูกกักกันและแยกกักใน SQ และ รพ.สนาม จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง | กองกิจกรรมทางกายฯ สำนักโภชนาการ ศูนย์สื่อสารฯ | ||||
1. ประสานศูนย์อนามัยเร่งดำเนินการจัดทำแผนลงพื้นที่และดำเนินการตามแผน | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
2. เข้มงวดติดตามและเฝ้าระวังแรงงานต่างด้าวในพื้นที่รับผิดชอบ จ.ตรังและจ.พัทลุง | ศูนย์อนามัยที่ 12 | ||||
3. จัดทำชุดข้อมูลการจัดการมูลฝอย | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
1. ประสาน Operation ศอ. ทำแผนลงพื้นที่ฝุ่นในแต่ละจังหวัด | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
2. สื่อสารประเด็นผลกระทบในการรับประทานอาหารริมบาทวิถีจากฝุ่น PM 2.5 ให้กับ ปชช. | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
3. สรุปผลดำเนินงานการลงพื้นที่ใน รพ.สนาม รายงานที่ประชุม EOC กรม วันที่ 22 ม.ค. 64 | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
4. ติดตามผลดำเนินงานตามข้อสั่งการ/มติที่ประชุมประจำวัน รายงานที่ประชุม EOC กรม | กองแผนงาน | ||||
5. ยกร่างข้อเสนอ/มาตรการ จากสถานการณ์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ จ.พัทลุง | STAG | ||||
6. แจ้ง ศอ.12 เข้มงวดติดตามและเฝ้าระวังแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ เน้น จ.ตรัง และ จ.พัทลุง | STAG ศอ.12 | ||||
1. กำหนดมาตรการ DMTH สำหรับ สปก. ให้ทดลองใช้ในกรมอนามัยก่อนเผยแพร่และผลักดันไปใช้จริง | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
2. ทำแผนลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมเสริมพลังตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อโควิดใน สปก. 4 จังหวัด | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
3. สรุปผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ด้าน สส. และ อวล. ใน รพ.สนาม | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
4. ปรับคณะทำงานความรอบรู้ด้านสุขภาพให้เหมาะสมกับสถานการณ์ | สำนักคณะกรรมการผู้ทรงฯ | ||||
5. เตรียมกลยุทธ์รองรับสถานการณ์การระบาดของโรคดีขึ้น เช่น การเปิดกิจกรรม กิจการ เปิดเมือง | STAG | ||||
6. รณรงค์สร้างความมั่นใจผู้ใช้บริการ รถพุ่มพวง รถตุ๊กตุ๊ก | ศูนย์สื่อสารสาธารณะ | ||||
1. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการสถานประกอบการโรงงาน เพื่อผลักดันใช้ E-passport และ TSC | กองแผนงาน | ||||
2. เพิ่มเติมแผนการปฏิบัติงานในการลงพื้นที่รายสัปดาห์ให้สอดคล้องกันสถานการณ์ ร่วมกับ สสม. | กองแผนงาน | ||||
3. เพิ่มเติมแผนการปฏิบัติงานในการลงพื้นที่รายสัปดาห์ให้สอดคล้องกันสถานการณ์ ร่วมกับ สสม. | Operation | ||||
4. รวบรวมข้อมูลโรงพยาบาลสนามทั่วประเทศที่จัดตั้งขึ้นในสถานการณ์โควิด 19 | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
5. วิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคตในแต่ละสัปดาห์เสนอในที่ประชุม | STAG | ||||
1. สร้างคำนิยามที่ชัดเจน แปลงข้อมูลในระบบ TSC เป็น code มาตรฐาน ให้สามารถแชร์ข้อมูลกับ SHA ได้ | กองแผนงาน | ||||
2. สนับสนุนการลงพื้นที่ รพ.สนามของ รมว.สธ. ในวันที่ 14 ม.ค. 64 ณ จังหวัดตาก | ศูนย์อนามัยที่ 2 | ||||
3. ประสาน สสจ.นนทบุรี จัดกิจกรรมสร้างความมั่นใจ “ตลาดสดน่าซื้อ ปลอดภัย ไร้โควิด” ตลาดบางใหญ่ | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ | ||||
4. แจ้งแผนการปฏิบัติการลงพื้นที่ให้กับคณะ logistic เพื่อสนับสนุนการจัดสรรพาหนะแบบ car pool ประกอบการลงพื้นที่ต่อไป | Operation | ||||
5. การจัดเตรียมเรื่องยานพาหนะเพื่อรองรับการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน | Logistics | ||||
1. สำรวจและจัดทำข้อมูลจำนวนและรายชื่อตลาดทั้งหมดของพื้นที่อำเภอบางใหญ่ และอำเภอไทรน้อย | สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ | ||||
2. ออกมาตรการและคำแนะนำตามประเภทและลักษณะของตลาด | STAG | ||||
3. พัฒนาแอพพลิเคชั่นประเมินความเสี่ยงส่วนบุคคล โดยนำร่องบังคับใช้สำหรับบุคลากรกรม | กองแผนงาน | ||||
4. จัดส่งสรุปผลการสำรวจอนามัยโพลและการตรวจจับข่าวต่อคณะทำงาน STAG | กองประเมินผลกระทบฯ | ||||
5. สร้างความร่วมมือและยกระดับผู้ประกอบการโรงงานภายใต้ BCP ในสถานการณ์โควิด 19 | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
6. จัดหาช่องทางการประสานงานร่วมระหว่างกรมอนามัยและสภาอุตสาหกรรม | Liaison | ||||
7. ทำแผนกระจายน้ำยาทำความสะอาดที่ได?รับบริจาคให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
1. PHEOC มอบกรม กำหนดมาตรการบูรณาการป้องกันควบคุมโควิด 19 สำหรับ สปก. ตลาด ร้านอาหารริมทางหรือแผงลอย ผู้ประกอบการนวด สปา โดยนำเสนอ ในที่ประชุม PHEOC วันที่ 12 ม.ค. 64 | นายแพทย์ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย | ||||
2. ประเมินและติดตามการดำเนินงานโรงพยาบาลสนาม และให้รายงานผล ที่ประชุม PHEOC ต่อไป | Operation | ||||
3. เตรียมมาตรการและแนวทางปฏิบัติ/คำแนะนำรองรับการเปิดเรียน | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
1. เผยแพร่ผลอนามัยโพลผ่านช่องทางต่างๆ สร้างกลไกให้ ปชช. ร่วมตอบแบบสอบถามอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน | กองประเมินผลกระทบฯ | ||||
2. จัดเตรียมทีมปฏิบัติการเพื่อสร้างความมั่นใจในการจัดกิจกรรมวันครูร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ | สำนักส่งเสริมสุขภาพ | ||||
3. เพิ่มรายละเอียดแนวทางปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 สำหรับบุคลากรกรมอนามัย | กองการเจ้าหน้าที่ | ||||
4. จัดช่องทางการสื่อสารกลางของกรม และบรรจุใน BCP กรม | กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร | ||||
1. จัดทำคำสั่งหรือบันทึกสำหรับเจ้าหน้าที่กรม เพื่อแสดงตัวเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยง | กองการเจ้าหน้าที่ | ||||
2. ทำแผนปฏิบัติการระยะสั้น และกลาง ขยายรายละเอียดการกำกับ ประเมิน และตรวจสอบมาตรการ | Operation | ||||
3. วางยุทธศาสตร์สร้างความร่วมมือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทุกภาคส่วน ด้านวิศวกรรม สุขาภิบาล ส่งเสริม ฯลฯ | STAG Operation | ||||
4.จัดสรรทันตแพทย์ และเจ้าหน้าที่ที่ผ่าน OSOF ทั้งส่วนกลางและ ศอ. ร่วมทีมปฏิบัติการ | กองการเจ้าหน้าที่ | ||||
1. ทำแผนขับเคลื่อนและสร้างกระแสให้ ปชช. ใช้งาน TSC | HL | ||||
2. สรุปภาพรวมและทำ framework นำเสนอที่ประชุม EOC กรม วันที่ 7 ม.ค. 64 | กองแผนงาน | ||||
3. ขับเคลื่อน Action plan สู่การปฏิบัติ ร่วมกับสสม. | Operation | ||||
4. จัดทำข้อสั่งการขับเคลื่อนการตรวจเยี่ยมสถานประกอบการ/สถานทujจำหน่ายอาหารไปยัง ศอ. | Operation (สอน.) | ||||
1. สังเคราะห์ข้อสังเกตจาก PHEOC ส่งให้ ศอ. รับทราบและเพิ่มความเข้มข้นของมาตรการให้ทันการณ์ | Liaison | ||||
2. วิเคราะห์ผลกระทบ Setting กลุ่มวัย และจัดทำคำแนะนำสถานบันเทิง คอนโด/บ้านจัดสรร | STAG | ||||
3. นำเสนอแผนลงพื้นที่ตามบทบาทภารกิจ ในที่ประชุม EOC กรม วันที่ 6 ม.ค.64 | |||||
4. สร้างทีมเลขาฯ เพื่อยกระดับให้สอดคล้องสถานการณ์ และรายงานที่ประชุม EOC กรม วันที่ 6 ม.ค. 64 | HL | ||||
1. ปรับมาตรการและรูปแบบการ Work from home (WFH) | กองการเจ้าหน้าที่ | ||||
2. คาดการณ์สถานการณ์ ทำคำแนะนำ ผลกระทบต่อกลุ่มวัย กลุ่มเปราะบาง | STAG | ||||
3. ทำหนังสือสั่งการ ศอ. และสสม. สนับสนุนการดำเนินงานของ คสจ. | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
4. ทำ Infographic 3 ฉบับ ขยะ น้ำเสีย สิ่งปฏิกูล แนบไปกับหนังสือสั่งการ | ศูนย์สื่อสาร | ||||
5. จัดทำแผนการลงพื้นที่ปฏิบัติตาม Slogan เกี่ยวกับร้านอาหาร เริ่มวันพุธ – ศุกร์ | Operation |