คุณกำลังมองหาอะไร?

 

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

   

เดือนมกราคม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564  

   

 

89

 

 

89

 

 

 

 

 

1. ปรับสัญลักษณ์ยิ้มของสีฟ้าในแผนที่ PM2.5 แยกตามกลุ่มอาการ   กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ    
2. จัดทำแผนปฏิบัติการระดับประเทศสำหรับผู้สูงอายุและครอบครัว สำนักอนามัยผู้สูงอายุ    
3. ลงพื้นที่เปิดเมืองตามนโยบาย รมว.สธ. ห้างสรรพสินค้า จ.ระยอง และห้างเซ็นทรัล พัทยา จ.ชลบุรี  Operation    
4. ลงพื้นที่สร้าง HL แม่และเด็ก 1 ก.พ. 64 จ.ตาก ขอรับการสนับสนุนทีมส่วนกลาง และวัสดุสนับสนุน Operation    
1. ประสาน สสจ.สมุทรสาครเพื่อบูรณาการงานภายใต้ยุทธการควบคุมโรค Bubble and Seal และ Accommodation Quarantine ในโรงงาน Operation    
2. ตรวจสอบ Timeline กลุ่มการติดเชื้อในระลอก 2 ว่ามีความสัมพันธ์หรือติดเชื้อจากร้านอาหารหรือไม่ อย่างไร STAG     
3. ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่ร่วมลงพื้นที่ให้มีการรีวิวคำแนะนำหรือติชมลงในสื่อออนไลน์ของเครือข่ายนั้นๆ ศูนย์สื่อสารสาธารณะHL    
4. จัดทำข่าวแจกเพื่อประชาสัมพันธ์การประชุมหารือแนวทางการบูรณาการระหว่างกระทรวงแรงงานและกรม    
5. ทบทวนมาตรการหรือคำแนะนำสำหรับการออกกำลังกายในฟิสเนต กองกิจกรรมทางกายฯ    
1. ออกแบบระบบติดตามและรายงานผลดำเนินงานตามข้อสั่งการผ่านระบบออนไลน์ เสนอที่ประชุม EOC กรม 29 ม.ค. 64 กองแผนงาน    
2. สื่อสารเน้นย้ำวิธีปฏิบัติในการจัดการศพที่เสียชีวิตจากโควิดไปยัง สสจ. และสร้างความเข้าใจแก่ประชาชน สำนักอนามัยผู้สูงอายุศูนย์บริหารกฎหมายฯกองประเมินผลกระทบฯ    
3. สื่อสารเน้นย้ำเรื่องพฤติกรรมการป้องกันโรคในศาสนสถาน และแจ้งผลสำรวจ Anamai poll แก่ สสจ.    
4. ขับเคลื่อน “3 สร้าง” สะอาดทั่วไทย อยู่อย่างปลอดภัย มั่นใจไร้ COVID-19 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม      ศูนย์สื่อสารสาธารณะ HL

 

 
1. ทบทวนระบบการประเมินความพร้อมของสถานศึกษา โดยใช้ Platform TSC และเป็น Single entry คลัสเตอร์วัยเรียน กองแผนงาน    
2. ชี้แจงแนวทางปฏิบัติภายใต้โครงการยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพประชาชนฯ รองรับการระบาด COVID-19 และส่งเสริมการใช้ Platform กลาง กองแผนงาน    
3. กำหนดหลักเกณฑ์จ่ายค่าตอบแทนเสี่ยงภัย แนวทางปฏิบัติการเบิกจ่ายและการตรวจสอบการเบิกจ่ายงบกลางโควิด กองคลังและ กลุ่มตรวจสอบภายใน    
4. ปรับรายละเอียดรูปแบบและสีโลโก้ TSC ให้เหมาะสม เสนอ EOC กรม 27 ม.ค. 64 ศูนย์สื่อสารสาธารณะ    
1. กำหนดมาตรฐานกลางการดำเนินงานสำหรับ สปก. สถานศึกษา และร้านอาหารตามการแบ่งพื้นที่ภายใต้มาตรการการควบคุมแบบบูรณาการ STAG    
2. ขอสนับสนุนหน้ากากอนามัยชนิด N95 industrial grade สำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะศอ.5, 6 Logistic    
3. ยุทธการคนไทยปลอดภัยโควิด 2564 ให้ทบทวนประเด็นสำคัญ key massage/Strategy/แนวทางปฏิบัติการ นำเสนอ EOC กรม STAG    
4. เสนอวาระข้อเสนอมาตรการเปิดเรียนใหม่ในสถานการณ์การระบาดโรคโควิด-19 สำหรับสถานศึกษา ในที่ประชุม PHEOC วันที่ 26 ม.ค. 64 สำนักส่งเสริมสุขภาพ และ Laison    
5. ออกแบบการปฏิบัติการในพื้นที่จ.สมุทรสาคร มุ่งเน้น Factory Quarantine ตลาดนัด ศูนย์การค้า และศูนย์เด็กเล็ก Operation ศูนย์อนามัยที่ 5 และ หมูป่า 5    
1. ประสาน สสจ.ร่วมลงพื้นที่ประเมินความพร้อมตลาดกลางกุ้ง จ.สมุทรสาคร ยกระดับมาตรฐานการสุขาภิบาล ศูนย์อนามัยที่ 5    
2. จัดทำแนวทางบริหารจัดการกระบวนการผลิตที่เป็นความเสี่ยงของ พนง. ในตลาดกลางค้าส่งและตลาดอาหารแช่แข็ง สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ    
3. วิเคราะห์ทิศทางและคาดการณ์แนวทางการดำเนินงานของกรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์ประเทศ สำนักคณะกรรมการผู้ทรงฯ    
4. จัดกิจกรรมรณรงค์ "ต้นแบบผู้สูงอายุปรับตัวและอยู่ได้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19" และขับเคลื่อนผ่าน อสม. สำนักอนามัยผู้สูงอายุ    
5. ทบทวนมาตรการ/คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้สูงอายุใน 13 setting ตามประกาศผ่อนคลายของกรุงเทพฯ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ    
1. จัดทำมาตรการและคำแนะนำกลุ่มเปราะบางระดับครัวเรือน เน้นมาตรการเข้มข้นกว่า DMHTT สำนักอนามัยผู้สูงอายุ    
2. ปรับมาตรการสุขาภิบาลตลาดให้เหมาะสม โดยเฉพาะ จ.สมุทรสาคร และเสนอ ศบค. ชุดเล็ก สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ    
3. จัดแถลงข่าวกรมอนามัยเชิญชวนเครือข่ายธนาคารแห่งประเทศไทยส่งเสริมการใช้ e-อั่งเปา สำนักทันตสาธารณสุข        ศูนย์สื่อสารสาธารณะ    
4. ออกแบบโลโก้ ปรับ E-certificate ออกแบบโปสเตอร์และ Sticker ติด สปก. เสนอที่ประชุม EOC กรม วันที่ 25 ม.ค. 64 ศูนย์สื่อสารสาธารณะ    
5. เชื่อมระบบประเมินสถานศึกษา สพฐ. และ TSC หารือถึงความเป็นไปได้ในการประชุมภาคีเครือข่าย ศธ. วันที่ 25 ม.ค. 64 สำนักส่งเสริมสุขภาพ    
1. ส่งเสริม PA ปชส. กิจกรรมก้าวท้าใจ ทำรายการอาหารที่เหมาะสมให้กับกลุ่ม ปชช.ที่ถูกกักกันและแยกกักใน SQ และ รพ.สนาม จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง กองกิจกรรมทางกายฯ สำนักโภชนาการ ศูนย์สื่อสารฯ    
1. ประสานศูนย์อนามัยเร่งดำเนินการจัดทำแผนลงพื้นที่และดำเนินการตามแผน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ    
2. เข้มงวดติดตามและเฝ้าระวังแรงงานต่างด้าวในพื้นที่รับผิดชอบ จ.ตรังและจ.พัทลุง ศูนย์อนามัยที่ 12    
3. จัดทำชุดข้อมูลการจัดการมูลฝอย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
1. ประสาน Operation ศอ. ทำแผนลงพื้นที่ฝุ่นในแต่ละจังหวัด กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ    
2. สื่อสารประเด็นผลกระทบในการรับประทานอาหารริมบาทวิถีจากฝุ่น PM 2.5 ให้กับ ปชช. ศูนย์สื่อสารสาธารณะ    
3. สรุปผลดำเนินงานการลงพื้นที่ใน รพ.สนาม รายงานที่ประชุม EOC กรม วันที่ 22 ม.ค. 64 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
4. ติดตามผลดำเนินงานตามข้อสั่งการ/มติที่ประชุมประจำวัน รายงานที่ประชุม EOC กรม กองแผนงาน    
5. ยกร่างข้อเสนอ/มาตรการ จากสถานการณ์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ จ.พัทลุง STAG    
6. แจ้ง ศอ.12 เข้มงวดติดตามและเฝ้าระวังแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ เน้น จ.ตรัง และ จ.พัทลุง STAG  ศอ.12    
1. กำหนดมาตรการ DMTH สำหรับ สปก. ให้ทดลองใช้ในกรมอนามัยก่อนเผยแพร่และผลักดันไปใช้จริง สำนักส่งเสริมสุขภาพ    
2. ทำแผนลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมเสริมพลังตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อโควิดใน สปก. 4 จังหวัด สำนักส่งเสริมสุขภาพ    
3. สรุปผลการดำเนินงาน ลงพื้นที่ด้าน สส. และ อวล. ใน รพ.สนาม สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
4. ปรับคณะทำงานความรอบรู้ด้านสุขภาพให้เหมาะสมกับสถานการณ์ สำนักคณะกรรมการผู้ทรงฯ    
5. เตรียมกลยุทธ์รองรับสถานการณ์การระบาดของโรคดีขึ้น เช่น การเปิดกิจกรรม กิจการ เปิดเมือง STAG    
6. รณรงค์สร้างความมั่นใจผู้ใช้บริการ รถพุ่มพวง รถตุ๊กตุ๊ก ศูนย์สื่อสารสาธารณะ    
1. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการสถานประกอบการโรงงาน เพื่อผลักดันใช้ E-passport และ TSC กองแผนงาน    
2. เพิ่มเติมแผนการปฏิบัติงานในการลงพื้นที่รายสัปดาห์ให้สอดคล้องกันสถานการณ์ ร่วมกับ สสม. กองแผนงาน    
3. เพิ่มเติมแผนการปฏิบัติงานในการลงพื้นที่รายสัปดาห์ให้สอดคล้องกันสถานการณ์ ร่วมกับ สสม. Operation    
4. รวบรวมข้อมูลโรงพยาบาลสนามทั่วประเทศที่จัดตั้งขึ้นในสถานการณ์โควิด 19 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
5. วิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคตในแต่ละสัปดาห์เสนอในที่ประชุม STAG    
1. สร้างคำนิยามที่ชัดเจน แปลงข้อมูลในระบบ TSC เป็น code มาตรฐาน ให้สามารถแชร์ข้อมูลกับ SHA ได้ กองแผนงาน    
2. สนับสนุนการลงพื้นที่ รพ.สนามของ รมว.สธ. ในวันที่ 14 ม.ค. 64 ณ จังหวัดตาก ศูนย์อนามัยที่ 2    
3. ประสาน สสจ.นนทบุรี จัดกิจกรรมสร้างความมั่นใจ “ตลาดสดน่าซื้อ ปลอดภัย ไร้โควิด” ตลาดบางใหญ่ สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ    
4. แจ้งแผนการปฏิบัติการลงพื้นที่ให้กับคณะ logistic เพื่อสนับสนุนการจัดสรรพาหนะแบบ car pool ประกอบการลงพื้นที่ต่อไป Operation    
5. การจัดเตรียมเรื่องยานพาหนะเพื่อรองรับการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน Logistics    
1. สำรวจและจัดทำข้อมูลจำนวนและรายชื่อตลาดทั้งหมดของพื้นที่อำเภอบางใหญ่ และอำเภอไทรน้อย สำนักสุขาภิบาลอาหารฯ    
2. ออกมาตรการและคำแนะนำตามประเภทและลักษณะของตลาด STAG    
3. พัฒนาแอพพลิเคชั่นประเมินความเสี่ยงส่วนบุคคล โดยนำร่องบังคับใช้สำหรับบุคลากรกรม กองแผนงาน    
4. จัดส่งสรุปผลการสำรวจอนามัยโพลและการตรวจจับข่าวต่อคณะทำงาน STAG กองประเมินผลกระทบฯ    
5. สร้างความร่วมมือและยกระดับผู้ประกอบการโรงงานภายใต้ BCP ในสถานการณ์โควิด 19 สำนักส่งเสริมสุขภาพ    
6. จัดหาช่องทางการประสานงานร่วมระหว่างกรมอนามัยและสภาอุตสาหกรรม Liaison    
7. ทำแผนกระจายน้ำยาทำความสะอาดที่ได?รับบริจาคให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
1. PHEOC มอบกรม กำหนดมาตรการบูรณาการป้องกันควบคุมโควิด 19 สำหรับ สปก. ตลาด ร้านอาหารริมทางหรือแผงลอย ผู้ประกอบการนวด สปา โดยนำเสนอ ในที่ประชุม PHEOC วันที่ 12 ม.ค. 64 นายแพทย์ดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย    
2. ประเมินและติดตามการดำเนินงานโรงพยาบาลสนาม และให้รายงานผล ที่ประชุม PHEOC ต่อไป Operation    
3. เตรียมมาตรการและแนวทางปฏิบัติ/คำแนะนำรองรับการเปิดเรียน สำนักส่งเสริมสุขภาพ    
1. เผยแพร่ผลอนามัยโพลผ่านช่องทางต่างๆ สร้างกลไกให้ ปชช. ร่วมตอบแบบสอบถามอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กองประเมินผลกระทบฯ    
2. จัดเตรียมทีมปฏิบัติการเพื่อสร้างความมั่นใจในการจัดกิจกรรมวันครูร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ สำนักส่งเสริมสุขภาพ    
3. เพิ่มรายละเอียดแนวทางปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 สำหรับบุคลากรกรมอนามัย กองการเจ้าหน้าที่    
4. จัดช่องทางการสื่อสารกลางของกรม และบรรจุใน BCP กรม กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร    
1. จัดทำคำสั่งหรือบันทึกสำหรับเจ้าหน้าที่กรม เพื่อแสดงตัวเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยง กองการเจ้าหน้าที่    
2. ทำแผนปฏิบัติการระยะสั้น และกลาง ขยายรายละเอียดการกำกับ ประเมิน และตรวจสอบมาตรการ Operation    
3. วางยุทธศาสตร์สร้างความร่วมมือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทุกภาคส่วน ด้านวิศวกรรม สุขาภิบาล ส่งเสริม ฯลฯ STAG  Operation    
4.จัดสรรทันตแพทย์ และเจ้าหน้าที่ที่ผ่าน OSOF ทั้งส่วนกลางและ ศอ. ร่วมทีมปฏิบัติการ กองการเจ้าหน้าที่    
1. ทำแผนขับเคลื่อนและสร้างกระแสให้ ปชช. ใช้งาน TSC HL    
2. สรุปภาพรวมและทำ framework นำเสนอที่ประชุม EOC กรม วันที่ 7 ม.ค. 64 กองแผนงาน    
3. ขับเคลื่อน Action plan สู่การปฏิบัติ ร่วมกับสสม. Operation    
4. จัดทำข้อสั่งการขับเคลื่อนการตรวจเยี่ยมสถานประกอบการ/สถานทujจำหน่ายอาหารไปยัง ศอ. Operation (สอน.)    
1. สังเคราะห์ข้อสังเกตจาก PHEOC ส่งให้ ศอ. รับทราบและเพิ่มความเข้มข้นของมาตรการให้ทันการณ์ Liaison    
2. วิเคราะห์ผลกระทบ Setting กลุ่มวัย และจัดทำคำแนะนำสถานบันเทิง คอนโด/บ้านจัดสรร STAG    
3. นำเสนอแผนลงพื้นที่ตามบทบาทภารกิจ ในที่ประชุม EOC กรม วันที่ 6 ม.ค.64      
4. สร้างทีมเลขาฯ เพื่อยกระดับให้สอดคล้องสถานการณ์ และรายงานที่ประชุม EOC กรม วันที่ 6 ม.ค. 64 HL    

 
1. ปรับมาตรการและรูปแบบการ Work from home (WFH) กองการเจ้าหน้าที่    
2. คาดการณ์สถานการณ์ ทำคำแนะนำ ผลกระทบต่อกลุ่มวัย กลุ่มเปราะบาง STAG    
3. ทำหนังสือสั่งการ ศอ. และสสม. สนับสนุนการดำเนินงานของ คสจ. สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
4. ทำ Infographic 3 ฉบับ ขยะ น้ำเสีย สิ่งปฏิกูล แนบไปกับหนังสือสั่งการ ศูนย์สื่อสาร    
5. จัดทำแผนการลงพื้นที่ปฏิบัติตาม Slogan เกี่ยวกับร้านอาหาร เริ่มวันพุธ – ศุกร์ Operation