คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนกรกฎาคม  ปีงบประมาณ 2565

 

0

 

 

0

 

 

0

 

 

 

เรื่องสืบเนื่อง

สรุปข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงฯ วันที่ 25 ก.ค. 2565

(รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT)

 - ที่ประชุม รับทราบ  โดยมีข้อเสนอ ดังนี้

- กรณี ที่มี case เด็กเสียชีวิตจากภาวะ MIS-C ซึ่งมีอาการคล้ายกับโรคคาวาซากิ ที่ทำให้ระบบหายใจและหัวใจล้มเหลวและเส้นเลือดหัวใจโป่งพอง ซึ่งกรมอนามัยดูแลเรื่องสุขภาพเด็กจึงให้ทีมสื่อสารส่วนกลางและส่วนภูมิภาคสื่อสารความรู้แก่ประชาชนเพื่อให้เฝ้าระวังอาการเด็กที่เคยติดเชื้อโควิด-19 รวมถึงความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อฝีดาษวานร โดยการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและมาตรการ UP เช่นเดียวกับโควิด-19

กอง HL+ ศอ +สสม.

    หน่วยงานรับทราบ

รายงานอนามัยโพล

1) กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพสื่อสาร เน้นย้ำให้ประชาชนยังคงมีพฤติกรรมป้องกันตนเองทั้งสวมหน้ากาก ล้างมือและเว้นระยะห่าง (UP) อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 และโรคฝีดาษวานรด้วย โดยเฉพาะประเด็น การสวมหน้ากากตลอดเวลา เมื่ออยู่ร่วมกันในที่ปิด ที่ระบายอากาศไม่ดี และที่เว้นระยะห่างไม่ได้ การให้ผู้สูงอายุสวมหน้ากากเมื่ออยู่กับผู้อื่น

2) ศูนย์อนามัยที่ 1-12 และ สสม. เน้นย้ำการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค (UP) เมื่อไปสถานที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะ ศาสนสถาน ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร และสถานที่ท่องเที่ยวที่ประชาชนจะเดินทางไปในช่วงวันหยุดยาวที่จะถึง

กอง HL

 

 

 

ศอ +สสม.

 

 

 

 

ดำเนินการสื่อสารตามข้อสั่งการ

 

 

 

หน่วยงานรับทราบ

รายงานความก้าวหน้า HL (รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT)

- ที่ประขุม รับทราบ โดยขอให้เน้นย้ำการสื่อสารเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อการป้องกันไข้เลือดออก

HL

กอง HL+ ศอ +สสม.

    หน่วยงานรับทราบ

เรื่องอื่นๆ :

ให้ทุกหน่วยงานติดตามสถานการณ์การระบาดของโควิด-19  ฝีดาษวานร และช่วยสื่อสารทำความเข้าใจกับประชาชนถึงมาตรการป้องกันโรค (UP และ UV) ในทุกกลุ่มวัย โดยเน้นย้ำกับกลุ่ม 608 เด็ก และผู้ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนเป็นพิเศษ

ทุกหน่วยงาน

   

หน่วยงานรับทราบ

Date_11 1. ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม. เน้นย้ำการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคในสถานที่ที่กลุ่มนักเรียนชอบไป เช่น ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า และตลาด เป็นต้น ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม.  

2.1 มอบหมายให้กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ นำผลสำรวจอนามัยโพล ไปใช้ประกอบการสื่อสาร สร้างความตระหนักให้ผู้ปกครอง และนักเรียน ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง

2.2 มอบหมายให้ทีมอนามัยโพลและคลัสเตอร์วัยเรียนกระจายแบบสำรวจให้ครอบคลุมกลุ่มที่อยู่ในสถานศึกษา เพื่อให้ผลการสำรวจมีความถูกต้องเพิ่มขึ้น
2.3 มอบหมายให้คลัสเตอร์วัยเรียนนำผลการสำรวจอนามัยโพลไปใช้ประกอบการกำกับติดตาม มาตรการป้องกันโรคของสถานศึกษา และ Recheck ว่ามาตรการไหนที่สถานศึกษาทำได้มากที่สุดและทำได้น้อยที่สุด

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ 

 

ทีมอนามัยโพล

 

และคลัสเตอร์วัยเรียน

   
3. เน้นย้ำการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคในขนส่งสาธารณะ ปั๊มน้ำมัน และศาสนสถาน ซึ่งคาดว่าจะมีประชาชนไปใช้บริการช่วงวันหยุดจำนวนมาก และเน้นย้ำมาตรการป้องกันโรค ได้แก่ การสวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง และล้างมือ  กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ    
4..1 ตามที่กองแผนงานได้เคยเสนอเรื่องค่าเสี่ยงภัย (งบกลาง) ทั้งนี้ ได้เปลี่ยนมาใช้ตามระเบียบเงินกู้แทนตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขแจ้งมา ทำให้สามารถขอได้เฉพาะค่าใช้จ่ายหลักๆ เช่น ค่าเสี่ยงภัย ค่ายา ค่าวัคซีน เป็นต้น
4.2 จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 สายพันธุ์ BA.4/BA.5 จึงมอบหมายให้ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม. ยังคงสื่อสาร เน้นย้ำมาตรการ Universal Prevention ในพื้นที่ โดยเฉพาะ การสวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง ล้างมือ 

กองแผนงานแจ้งทุกหน่วยงานรับทราบ

 

ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม.

   

1. ข้อสั่งการจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข มีข้อเสนอแนะ ดังนี้

การสื่อสาร สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรการ Universal Prevention , Universal Vaccination และวัคซีน เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและความรุนแรง เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด-19 ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม 608 และผู้ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน และพบการติดเชื้อในกลุ่มนักเรียน ขอให้ทุกหน่วยงานสร้างการรับรู้ประชาชนกลุ่ม 608 ในเรื่องการฉีดวัคซีน

หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

-  

หน่วยงานรับทราบ

2. รายงานอนามัยโพล มีข้อเสนอแนะ ดังนี้

- นำผลสำรวจอนามัยโพล ไปประกอบการสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจ แก่ประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ Universal Prevention Universal Vaccination และการกระตุ้นวัคซีนเข็ม 3 โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนในสถานศึกษา

- เน้นย้ำการงดรับประทานอาหารร่วมกันของกลุ่มนักเรียน

 

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

 

สำนักส่งเสริมสุขภาพ

( Cl วัยเรียนวัยรุ่น)

-  

หน่วยงานรับทราบ

3. รายงานความก้าวหน้ากล่อง Operation/Logistic/HL มีข้อเสนอแนะ ดังนี้

เน้นย้ำการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความเข้าใจ มาตรการ Universal Prevention Universal Vaccination ทุกช่องทาง

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

-  

หน่วยงานรับทราบ