เดือนมีนาคม ปีงบประมาณ 2564
| 32 |
|
| 32 |
|
| |
|
1.เสนอสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก -เพิ่มการวิเคราะห์ข้อมูลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเนื่องจากมีการเผาตอข้าวในที่นา และประสานกับศูนย์อนามัยเพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | รับทราบและดำเนินการดังนี้ - ได้มีการประสานงานกับพื้นที่แล้ว - ได้ประสานสิ่งแวดล้อมภาค ของกรมควบคุมมลพิษในการลงพื้นที่ ดังกล่าว | |||
อนามัยโพล 1. พิจารณาเพิ่มคำถามแบบเฉพาะเจาะจงกับสถานการณ์ ขยายกลุ่มเป้าหมาย และให้มีการประสานส่งต่อสรุปผลการสำรวจอนามัยโพลให้กับศูนย์อนามัยในพื้นที่รับทราบ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและส่งแสริมพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | รับทราบ ดำเนินการดังนี้ - เบื้องต้นยังคงข้อคำถามความแสดง ถึงเชื่อมั่นของตลาดให้พื้นที่นำไปใช้ - พิจารณาข้อคำถามเฉพาะเจาะจงกับสถานการณ์ครั้งต่อไป | |||
2. ระมัดระวังเรื่องจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสม เพื่อยืดอายุการใช้งาน | คณะทำงาน Logistic | รับทราบ ดำเนินการบริหารจัดการเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสมและพร้อมสนับสนุนตามภารกิจของทีม Operation | |||
เพื่อทราบ - การดำเนินงานตามมาตรการ GFP พบว่ามีโรงงานร่วมประเมินรับรองตนเองในระบบ Thai Stop COVID Plus ทั้งสิ้น 1,000 แห่ง ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 84 สำหรับการส่งเสริมมาตรการในระดับพื้นที่ คณะทำงานปฏิบัติการ กรมอนามัย ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมโรงงาน ทั้งสิ้น 217 แห่ง หรือเท่ากับร้อยละ 70 ของโรงงานทั้งหมดในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่าผ่านประเมินรับรองตนเองร้อยละ 89 และพบว่ามีโรงงานประมาณ 40 แห่ง หรือเท่ากับร้อยละ 20 เคยมีพนักงานเป็นผู้ติดเชื้อ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานต่างด้าว - ควรมีการรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะ และให้นำเสนอการดำเนินงานตามมาตรการ GFP ในศบค.ชุดเล็กในครั้งต่อไป |
ทุกหน่วยงาน
สำนักส่งเสริมสุขภาพ
|
|
| ||
1. ประสานศูนย์อนามัยให้ความสำคัญกับการสำรวจอนามัยโพล โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ที่มีค่า PM2.5 สูง | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ |
| |||
2.1 สรุปผลการตอบแบบสำรวจอนามัยโพลระดับเขตถึงระดับจังหวัด และเร่งรัดขับเคลื่อนจังหวัดร่วมตอบแบบสำรวจฯ 2.2 เพิ่มมากขึ้น พิจารณาเพิ่มประเด็นผู้สูงอายุในการสำรวจอนามัยโพล | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ |
| |||
3. จากข้อมูลสถานการณ์การเสียชีวิตของผู้สูงอายุด้วย COVID-19 ในประเทศไทย โดยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุประเภทติดบ้านติดเตียง และมีโรคประจำตัว ทั้งนี้ ให้ศึกษาว่ามีปัจจัยใดที่ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุดังกล่าวรับเชื้อได้อย่างไร | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ |
| |||
4. ประสานกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่องมติและข้อสั่งการการประชุม BMW เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 ในประเด็นอนามัยโพล เพื่อนำมากำหนดแผนการดำเนินงานและแจ้งศูนย์อนามัยเร่งรัดการตอบแบบสำรวจฯ ในระดับจังหวัดต่อไป | กองแผนงาน |
| |||
5.1 บริษัท ไทยวัสดุ จำกัด ได้ทำการส่งมอบเจลแอลกอฮอล์ จำนวน 3 ล้านมิลลิลิตร ให้กับกระทรวงสาธารณสุข และคาดว่าจะมีการกระจายยังกรมต่างๆ และปัจจุบันกรมอนามัย ยังคงมีวัสดุและอุปกรณ์สำหรับลงพื้นที่ปฏิบัติงานภาคสนาม ทั้งนี้ สามารถขอรับการสนับสนุนได้ 5.2 รายงานจำนวนวัสดุและอุปกรณ์คงเหลือของหน่วยงานส่วนกลางและศูนย์อนามัย เพื่อเสนอให้อธิบดีกรมอนามัยรับทราบ | คณะทำงาน Logistic | | |||
1. ประสานหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดนำร่องที่ต้องการเปิดเมืองรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต และอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฏร์ธานี เพื่อสอบถามถึงความต้องการการสนับสนุนจากกรมอนามัย และจัดทำเป็นการแผนปฏิบัติการสนับสนุนพื้นที่ รวมทั้งพิจารณาจัดกิจกรรม Kick off ผนวกในกิจกรรม “เปิดเมืองปลอดภัย จัดงานไมซ์มั่นใจ ด้วยมาตรฐาน” | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
| |||
2. การเตรียมนำเสนอรายงานความก้าวหน้าเรื่อง Thai Stop COVID plus ให้ควบรวมเรื่องตลาด และให้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลให้เหมาะสม ทั้งนี้ ก่อนการรายงานฯ ให้เสนอข้อมูลเพื่อให้อธิบดีกรมอนามัยพิจารณาในเบื้องต้น | คณะทำงาน Thai Stop COVID plus สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองแผนงาน |
| |||
3. พิจารณาความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานหรือการประเมินโรงพยาบาล รวมถึงสถานประกอบการ/กิจการในโรงพยาบาลบรรจุในระบบ TSC+และประสานกรมสนับสนุนบริการสุขภาพในการขอคืนข้อมูลมาตรฐานโรงพยาบาลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม | คณะทำงาน Thai Stop COVID plus |
| |||
4. ส่งเสริมให้ประชาชนที่เข้าร่วมงานมอเตอร์โชว์ ร่วมให้ข้อคิดเห็นหรือรีวิวสถานประกอบการภายในงาน และสื่อสารใช้ SAVE THAI ประเมินคัดกรองแบบประเมินก่อนเข้างานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย | คณะทำงาน Operation กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ดำเนินการแล้ว โดยประสานกับคณะผู้จัดงาน | |||
5. ความคืบหน้าการดำเนินงาน Implementation อัตราการเสียชีวิตสถานการณ์ COVID – 19 ในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ | สอส. | ดำเนินการแล้ว พร้อมนำเสนอในที่ประชุม | |||
1. กระตุ้นและส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในตลาดโดยผ่านเสียงตามสายของตลาด และใช้สื่อเสียงที่คณะทำงาน HL สำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจัดทำขึ้นสนับสนุนให้กับผู้ดูแลตลาด | สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ | ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ได้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ | |||
2. กำหนดให้หน่วยงานส่วนกลางสนับสนุนการดำเนินงานหน่วยงานระดับพื้นที่ ทั้งด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ดังนี้
| ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
| |||
3. รายงานแผนและผลการปฏิบัติการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของหน่วยงาน ผ่านเว็บไซต์ https://eoc.anamai.moph.go.th/th/operation-team/ | ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
| |||
4. วิเคราะห์ฉากทัศน์ภายใต้สถานการณ์การได้รับวัคซีน นโยบายจับคู่ประเทศท่องเที่ยว (Bubble Travel) และการเปิดเมือง โดยเบื้องต้นนำร่องในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตและเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี | STAG |
| |||
5. ประสานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับในขับเคลื่อนแนวทาง “เปิดเมืองปลอดภัย จัดงาน MICE มั่นใจ ด้วยมาตรฐาน” ใน 10 เมือง MICE กับหน่วยงานในระดับพื้นที่ (ศูนย์อนามัย) | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ประสานงานร่วมกับศูนย์อนามัยและได้มีการจัดประชุมกับเจ้าหน้าที่ของ MICE สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ เริ่มดำเนินการลงพื้นที่ในเดือนเมษายน | |||
1. Liaisons ประสานข้อมูลกับสสม. และทีมกำกับติดตามศูนย์อนามัย (หมูป่า) วิเคราะห์ปัจจัยและจัดทำเส้นทางความเสี่ยง (Flow) การรับและส่งสินค้าของผู้ที่เคยติดเชื้อและที่มีความเสี่ยงในพื้นที่ตลาดบางแค | Liaisons Team | ทีม operation สสม. วิเคราะห์ปัจจัยและจัดทำเส้นทางความเสี่ยงในพื้นที่ตลาดบางแค และนำเข้าที่ประชุม OC | |||
2.1 ประสานกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานตลาดสด ประเด็นการปรับปรุงตลาด ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ | ||||
3. ประสานงานบริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) เนื่องจากมีความประสงค์สนับสนุนหน้ากากผ้าแก่กรมอนามัย | Logistics Team | ||||
4. ทีมปฏิบัติการลงพื้นที่ให้ความรู้ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่ตลาดสดบางแค | Operation | ทีม Operation ส่วนกลางร่วมกับสสม. ลงพื้นที่ตลาดสดบางแค และพื้นที่ใกล้เคียง ให้ความรู้ประชาชน และประเมิน Thai Stop COVID Plus เมื่อวันที่ 15 – 17 มีนาคม 64 | |||
1. เสนอสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก 1.1 ติดตามการดำเนินงานตามข้อสั่งการในแต่ละจังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยงผ่านทางศูนย์อนามัย 1.2 พิจารณาประสานการทำอนามัยโพลควรทำหนังสือไปถึงจังหวัดหรือไม่ | กองประเมินผลกระทบฯ | ดำเนินการติดตามผลตามข้อสั่งการ และ ดำเนินการจัดทำหนังสือเพื่อประสานงานเรียบร้อยแล้ว | |||
1. จัดทำแนวทาง มาตรการ สำหรับประชาชน สถานประกอบการ หน่วยงาน รองรับเทศกาลสงกรานต์ภายใต้การผ่อนคลายมาตรการเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ และเสนอในที่ประชุม BMW กระทรวงสาธารณสุขครั้งต่อไป | STAG | ดำเนินการมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำตามมาตรการ ดังกล่าว และกำหนดให้ส่งมาตรการภายในสัปดาห์นี้ | |||
2. Thai Stop COVID Plus Platform 2.1 เพิ่มการสาธิตและแสดงผลการประเมินตนเองของสถานประกอบการ กิจกรรม กิจการ ณ จุดนิทรรศการในกิจกรรมรณรงค์ “3 สร้าง” สะอาดทั่วไทย อยู่อย่างปลอดภัย มั่นใจไร้ COVID-19 ซึ่งกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 15 มีนาคมนี้ 2.2 พัฒนาระบบแสดงผลการประเมินตนเองในระดับพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกสถานประกอบการ กิจกรรม กิจการ | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และสำนักส่งเสริมสุขภาพ | ข้อ 1. รับทราบและได้จัดให้มีการแสดงผลการประเมินตนเอง ณ จุดนิทรรศการ เนื่องด้วยท่านประธานติดภารกิจด่วน งานรณรงค์ฯ ในวันที่ 15 มีนาคม 2564 จึงขอเลื่อนงานออกไปอย่างไม่มีกำหนด ข้อ 2. พัฒนาระบบแสดงผลอยู่ระหว่างการดำเนินการ | |||
3. รายงานผลการดำเนินงานของผู้พิทักษ์อนามัยในการประชุม OC กรมอนามัยครั้งถัดไป | คณะทำงาน HL | รับทราบ | |||
1. มติที่ประชุมสั่งการให้ดำเนินการเพิ่มเติมกลยุทธ์และมาตรการกรมอนามัย 3 ประเด็น
| คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม และหน่วยที่เกี่ยวข้อง | ||||
2.จัดเตรียมข้อมูลเพื่อรายงานสถานการณ์ดังกล่าวในที่ประชุมและให้หน่วยรับผิดชอบประสานกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรายงานสถานการณ์ฯ ต่อไป | นพ.ดนัย ธีวันดา (ผู้นำเสนอ) กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
3. คณะทำงานและศูนย์อนามัย ประสานหน่วยงานระดับพื้นที่ เพื่อประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการสุขาภิบาล เช่น การจัดการห้องน้ำห้องส้วม ระบบระบายอากาศ และให้ความรู้กับประชาชนและสถานประกอบการ เป็นต้น ณ พื้นที่จัดสอบ | คณะทำงานปฏิบัติการ (Operation) คณะทำงาน HL ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด | ||||
4. ติดตาม รายงานการบริหารจัดการ และวิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องมีการเบิกจ่ายงบกลางโควิด - 19 หลังวันที่ 31 มีนาคม 2564 และให้รายงานในการประชุมกรมอนามัยต่อไป | กองแผนงาน | ||||
5. วิเคราะห์และปรับกลยุทธ์ภารกิจกรมอนามัยให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดที่เริ่มผ่อนคลายมากขึ้น | STAG |