เดือนมีนาคม ปีงบประมาณ 2565
| 16 |
|
| 15 |
|
| 1 |
|
1. ทีม Logistic เตรียมจัดทำประมาณการวัสดุต่างๆ เพื่อเสนออธิบดีกรมอนามัยพิจารณาในการของบประมาณต่อไป | สำนักงานเลขานุการกรม |
|
| ||
2.1 จากการที่กรมอนามัยได้นำเสนอ (ร่าง) มาตรการความปลอดภัยป้องกันโรคโควิด – 19 ในการปฏิบัติศาสนกิจ ช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอมและวันตรุษอีดิ้ลฟิตตรี ปี 2565 ในที่ประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุขและได้นำเสนอที่ประชุม ศปก.ศบค. เรียบร้อยแล้ว เหลือขั้นตอนการประกาศเป็นทางการ โดยให้จุฬาราชมนตรีเป็นผู้ออกประกาศ 2.2 จัดการแถลงข่าวในวันที่ 30 มีนาคม 2565 เวลา 13.30 น. กระทรวงสาธารณสุข โดยอธิบดีกรมอนามัยและผู้เกี่ยวข้อง - ที่ประชุมขอให้เน้นมาตรการในการล้างหน้า อาบน้ำในมัสยิด รวมทั้งการใช้อุปกรณ์เสื่อ พรมรวมกัน | กรส. สอส. |
|
| ||
3.1 มอบ กรส.ประสานอธิบดีกรมอนามัยจะมีการแถลงข่าวในสัปดาห์หรือไม่ เนื่องจากวันพุธเป็นวันหยุด เพื่อที่จะได้นำข้อมูลผลสำรวจอนามัยโพลประเด็นการสังเกตการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคในสถานที่ท่องเที่ยวไปแถลงข่าวในสัปดาห์หน้า ก่อนเทศกาลสงกรานต์ กระตุ้นให้แหล่งท่องเที่ยวปฏิบัติตามมาตรการและขอความร่วมมือสถานที่ท่องเที่ยวรีบดำเนินการตาม CFS 3.2 มอบศูนย์อนามัย และ สสม. ในการประสานให้แหล่งท่องเที่ยวขอความร่วมมือนักท่องเที่ยวตอบแบบสำรวจอนามัยโพลนี้ และให้แหล่งท่องเที่ยวประเมิน CFS ด้วย เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ (N) ให้มีจำนวนมากขึ้น | กรส./อนามัยโพล
ศูนย์อนามัยทุกแห่ง และ สสม. |
|
| ||
4.1 ให้หน่วยงานส่วนกลาง ศูนย์อนามัยทุกแห่ง และ สสม. รับทราบแผนการขับเคลื่อนทั้งการแถลงข่าวและ Roadshow 4.2 ให้ศูนย์อนามัยทุกแห่ง และ สสม. ร่วมกับจังหวัดสนับสนุนให้ข้อเสนอแนะต่อผู้จัดงานเพื่อให้การจัดงานที่จะเกิดขึ้นได้มาตรการตามที่กำหนด 4.3 ขอให้กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ติดตามการประสานงานกับกระทรวงสาธารณสุข และ สสปน. เพื่อยืนยันกำหนดการของท่านรองนายกรัฐมนตรีมาเป็นประธานแถลงข่าวเปิดโครงการ เปิดเมืองปลอดภัย รวมจัดงานไมซ์ สร้างรายได้สู่เมือง | ศูนย์อนามัยทุกแห่ง และ สสม.
ศูนย์อนามัยทุกแห่ง และ สสม.
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ |
|
| ||
รายงานอนามัยโพล มีข้อสั่งการ ดังนี้ 1.1 สื่อสารรณรงค์การทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสบ่อยในบ้าน ที่พักอาศัย ร่วมกับการจัดสภาพแวดล้อมในบ้าน การระบายอากาศที่ดี เตรียมพร้อมรับวันสงกรานต์ และคำแนะนำการคัดแยกขยะจากหน้ากากและ ATK ที่ใช้แล้ว | กรส. / สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม |
| กรส.สื่อสารรณรงค์อยู่ในระหว่างการดำเนินการนำประเด็นดังกล่าวนำเสนอผ่านการแถลงข่าว ณ ศูนย์แถลงข่าวฯ ในวันพุธ ที่ 30 มี.ค. ค่ะ สว. อยู่ระหว่างดำเนินการ รวบรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำข้อมูล/สื่อสาร | ||
1.2 กำกับติดตาม เน้นย้ำ การทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสบ่อย รวมทั้งห้องน้ำ ห้องส้วม และจัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ในสถานประกอบการต่างๆ ที่คาดว่าประชาชนจะไปใช้บริการจำนวนมากเตรียมพร้อมในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เช่น ขนส่งสาธารณะ วัด ศาสนสถาน ตลาด ร้านอาหาร เป็นต้น | หน่วยงานรับทราบ | ||||
รายงานความก้าวหน้ากล่อง Operation / Logistic / HL มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 2.1 กำกับดูแลวัสดุอุปกรณ์สำหรับออกทีม COVID Operation ให้มีความพร้อมใช้งาน เนื่องจากมีตัวเลขอุปกรณ์คงเหลือใน STOCK ค่อนข้างน้อย (จากการรายงานผลให้ทีม Logistic กรมรับทราบ) | ศอ. 2 / ศอ. 6 | หน่วยงานรับทราบ | |||
แผนงานและมาตรการบริหารจัดการ COVID-19 รองรับสู่ Endemic มีข้อสั่งการ ดังนี้ 3.1 แก้ไขเนื้อหาของข้อเสนอมาตรการฯ จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ 1) slide แผ่นที่ 36 : แก้ไข Density ให้เป็น 1 ต่อ 3 ตารางเมตร ในทุกระยะ 2) slide แผ่นที่ 36 : การตรวจ ATK ในระยะ post endemic ให้ตัดคำว่า “กลุ่มเสี่ยง” 3.2 ปรับมาตรการให้สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของที่ประชุมฯ 3.3 ปรับมาตรการทางกฎหมายสู่ระยะ Endemic |
ทีม STAG
สำนัก / กองวิชาการ กองกฎหมาย |
|
|
ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว
หน่วยงานรับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ (ร่วมกับหน่วยงานวิชาการที่เกี่ยวข้องปรับปรุงอนุบัญญัติ จำนวน 5 ฉบับ และเตรียมจัดประชุมคณะทำงาน และเสนอคณะกรรมการตามกฎหมาย เพื่อพิจารณาต่อไป) | |
2. สรุปข้อสั่งการและรายงานการประชุม EOC กรมอนามัย วันที่ 22 ก.พ. 2565 | รับทราบ | ||||
3.1 สรุปสถานการณ์โควิด – 19 จาก PHEOC กระทรวงฯ | รับทราบ | ||||
3.2 สรุปข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงฯ รณรงค์ Save 608 by booster dose (608 ฉีดเข็ม 3 และ อสม. ฉีดเข็ม 4) และรณรงค์ Self Clean Up 1 สัปดาห์ ก่อนกลับบ้านสงกรานต์ เพื่อพบผู้ใหญ่ได้อย่างปลอดภัย (งดพบปะสังสรรค์และตรวจ ATK ก่อนเดินทาง | ส่วนกลาง, ศูนย์อนามัย และ สสม. | ||||
3.3.1 รณรงค์พฤติกรรมการล้างมือเป็นประจำด้วยสบู่และน้ำหรือแอลกอฮอล์อย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการสวมหน้ากาก และเว้นระยะห่าง แม้ผลสำรวจอนามัยโพล พบว่า ในเดือน มี.ค.65 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ.65 | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | ||||
3.3.2 ให้ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสม. กำกับติดตาม เน้นย้ำการทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสที่มีการสัมผัสบ่อย รวมทั้ง ห้องน้ำ ห้องส้วม ในสถานประกอบการที่คาดว่าประชาชนจะไปใช้บริการจำนวนมากในช่วงเทศกาลสงกรานต์ | ศูนย์อนามัย และ สสม. | ||||
3.4.1 สื่อสารกิจกรรมการรณรงค์ Save 608 By Booster Dose (608 ฉีดเข็ม 3 และ อสม. ฉีดเข็ม 4) และรณรงค์ Self Clean Up 1 สัปดาห์ ก่อนกลับบ้านสงกรานต์เพื่อพบผู้ใหญ่ได้อย่างปลอดภัย | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | ||||
4. รายงานแนวทางปฏิบัติเมื่อมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | ทุกหน่วยงาน | รับทราบ | |||
1.รายงานอนามัยโพล 1. มอบหมายทีมอนามัยโพลวิเคราะห์ผลสำรวจแยกตามประเภทร้านอาหาร ได้แก่ ร้านอาหารทั่วไป ร้านอาหารที่มีการแสดงดนตรี และศูนย์อาหาร และมอบกรส.ในการสื่อสารมาตรการในร้านอาหาร | ทีมอนามัยโพล/กรส. | ทีมอนามัยโพลรับทราบ และดำเนินการหารือกับทีมเพื่อวิเคราะห์ต่อไป/ กอง HL ดำเนินการสื่อสาร เรียบร้อยแล้ว | |||
2. รายงานความก้าวหน้ากล่องสื่อสาร แผนการดำเนินการเทศกาลสงกรานต์
1) ก่อนการเดินทาง สื่อสารรณรงค์การฉีดวัคซีนก่อนการเดินทางไม่น้อยกว่า 14 วัน(เดินทางประมาณวันที่ 8-9 เมษายน) 2) ช่วงการจัดงาน สื่อสารประชาสัมพันธ์รณรงค์การเตรียมการ ให้เน้นมาตรการ CFS ตามแนวทางการรวมกลุ่มคน สื่อสารเตรียมการจัดงานที่ต้องขออนุญาติขนาดกลางและขนาดใหญ่ ประเมินCFS เพื่อขออนุญาติจัดงานจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ศปก.อ. หรือส่วนท้องถิ่น 3) ระยะเดินไปและการเดินทางกลับ ประมาณวันที่ 16 – 18 เมษายน รณรงค์สื่อสารการเดินทางเนื่องจากคนจะเดินทางกลับเร็ว 4) สื่อสารกิจกรรมตามวันสำคัญวันที่ 13 วันสูงอายุ วันที่ 14 วันครอบครัว กลับภูมิลำเนาไปเยี่ยมครอบครัวสื่อสารแนวกิจกรรมทางบวกแบบ Next normal มีสุขลักษณะ 5) การสังเกตุอาการหลังจากการเดินทางกลับ 2.มอบหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำ สรุปข้อมูลคำแนะนำมาตรการที่เข้าใจง่ายเพื่อสื่อสารกับประชาชน 1) การท่องเที่ยว เดินทาง : สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 2) ห้างสรรพสินค้า กิจกรรมการรวมตัว : กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3) ตลาด ร้านอาหาร : สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4) วัด : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ 4) การสื่อสาร : กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ 5) ข้อมูลแพลตฟอร์ม CFS รายงานสถานการณ์เพื่อทราบต่อที่ประชุม PHEOC และ ศปก.ศบค.ก่อนวันสงกรานต์ เพื่อเน้นย้ำมาตรการให้ทาง ศปก.มท.ดำเนินการ โดย AIR WAR กองส่งเสริมความรอบรู้สื่อสาร และ GROUND WAR ศูนย์อนามัยคืนข้อมูลให้กับ คืนผ่านผู้ตรวจราชการและนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามรายละเอียด | กอง HL ดำเนินการตาม ข้อสั่งการเรียบร้อยแล้ว | |||
3. การขับเคลื่อนมาตรการป้องกันCOVID -19 และการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มเปราะบาง ผู้สูงอายุ
| สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | สอส. 1.สื่อสาร:อยู่ระหว่างดำเนินการ 2.ของขวัญผู้สูงอายุ : รับทราบ และจะดำเนินการช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ | |||
4. (ร่าง)มาตรการเข้มงวดด้านสาธารณสุขในการป้องกันโควิด 19 สำหรับสถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ ปรับแก้ไขดังต่อไปนี้
| สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม /กองแผนงาน | สว. ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว และได้จัดส่ง file ให้ ผอ.กองแผนงาน เพื่อเตรียมนำเสนอต่อคณะวิชาการกระทรวง สธ. ในวันที่ 15 มี.ค. 65 | |||
เรื่องอื่น ๆ 5.1 รายงานมาตรการความเสี่ยงบุคคลากรกรมอนามัย 1) เห็นชอบในหลักการมอบกองการเจ้าหน้าที่เรียบเรียงเพื่อให้เข้าใจได้ง่านขึ้น โดยให้สำนักส่งเสริมสุขภาพช่วยเรียบเรียง 2) ให้เน้นย้ำพฤติกรรมบุคลากรในการทำงาน โดยให้ ผอ.สำนัก กอง สถาบันฯ กำกับและตรวจสอบการปฏิบัติงานในเรื่องการ WFH และพฤติกรรมเสี่ยง | รองอรรถพลฯ กองการเจ้าหน้าที่ สำนักส่งเสริมสุขภาพ
รองอธิบดีที่กำกับหน่วยงานและผู้บริหาร ทุกสำนัก กอง สถาบันฯ | กองจ.ดำเนินการเรียบร้อยแล้วและนำเสนอในวันที่ 15 มี.ค.65 หน่วยงานรับทราบ | |||
1. สื่อสารให้ความรู้เรื่องภาวะหรืออาการที่เกิดขึ้นหลังจากหายป่วยจากโควิด 19 กรณี Long COVID และ MIS – C รวมทั้งวิธีการดูแลและปฏิบัติตน | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | ||||
2.1 จัดทำ SOP ระบบการดำเนินงานสายด่วนผู้พิทักษ์อนามัย รวมทั้งทบทวนภารกิจของกรมอนามัยให้ชัดเจนต่อการให้ข้อมูลแก่ประชาชน 2.2 จัดเตรียมข้อมูลที่จำเป็นให้ผู้รับโทรศัพท์ เช่น List รายชื่อของสถานพยาบาลและคลินิกที่จับคู่กับระบบ HI, เบอร์โทรศัพท์ Focal Point ของกรมการแพทย์สำหรับติดต่อเรื่องเตียง และเบอร์โทรศัพท์ของศูนย์รับส่งต่อผู้ป่วยของแต่ละจังหวัด เพื่อส่งต่อให้ประชาชนได้ติดต่ออย่างถูกต้อง | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | ||||
3.1 มอบหมายให้ทีม Logistic ตรวจสอบวันหมดอายุของวัสดุและเวชภัณฑ์แต่ละประเภท 3.2 ตรวจสอบ Stock ในภาพรวมของกรมอนามัยทั้งส่วนกลางและภูมิภาค 3.3 กำหนด Minimal Stock สำหรับใช้ในการประคองกิจการของกรมอนามัย (BCP) ทั้งของส่วนกลางและศูนย์อนามัย นำข้อมูลวิเคราะห์เพื่อพิจารณาในการของบกลาง โดยให้มานำเสนอในการประชุม EOC กรมอนามัยในสัปดาห์หน้า | ทีม Logistic
ทีม Logistic และกองแผนงาน | ||||
4. จัดทำแนวทาง After COVID Era ในรูปแบบ Infographic ส่วนเนื้อหาให้เป็น Key Message สำคัญที่มีความ Practical และนำไปเผยแพร่ต่อไป | Dream Team | ||||
5. สรุปภาพรวมสถานการณ์การติดเชื้อของบุคลากรกรมอนามัยทั้งส่วนกลางและศูนย์อนามัย รวมทั้งวิเคราะห์ผู้ติดเชื้อของกรมอนามัยที่ส่วนใหญ่ติดจากจากนอกสถานที่ทำงานด้วยปัจจัยเสี่ยงอะไร และมีความเสี่ยงต่อองค์กรอย่างไรบ้าง โดยให้มานำเสนอในการประชุม EOC กรมอนามัย ในวันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม 2565 | กองการเจ้าหน้าที่ |