เดือนพฤษภาคม ปีงบประมาณ 2565
| 0 |
|
| 0 |
|
| 0 |
|
1. สำรวจข้อมูล (Name List) เพื่อจัดทำทะเบียนข้อมูลสถานบันเทิง ผับบาร์ คาราโอเกะ และกำกับติดตามการปฏิบัติตามมาตรการด้านสาธารณสุขของสถานบันเทิง ผับบาร์ คาราโอเกะ โดยเฉพาะในพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว และลงสุ่มตรวจกำกับติดตามรวมกับศูนย์อนามัยและหน่วยงานในพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเช่น เชียงใหม่ กทม. ภูเก็ต ฯลฯ | ศอ.1-12 และ สสม. สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
2. นำผลอนามัยโพลไปใช้ประกอบการสื่อสารเน้นย้ำให้ประชาชนยังคงมีพฤติกรรมป้องกันโรคตามมาตรการความปลอดภัยแบบครอบจักรวาร (Universal Prevention) อย่างต่อเนื่อง และจัดทำ Key message สำหรับสื่อสารสร้างความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและการฉีดวัคซีนเนื่องจากผลสำรวจอนามัยโพล ยังพบเหตุผลที่ยังไม่ฉีดวัคซีนหรือฉีดวัคซีนยังไม่ครบ ได้แก่ กลัวผลข้างเคียงของการได้รับวัคซีน คิดว่าฉีดวัคซีน 1-2 เข็มก็เพียงพอแล้ว อยากศึกษาข้อมูลก่อนฉีด เห็นคนฉีด 3 เข็มแล้วยังติดเชื้อ เป็นต้น | กอง HL | ||||
3. เน้นย้ำสื่อสารให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร COVID Free Setting และประเมินรับรองตนเองผ่านแพลตฟอร์ม Thai Stop COVID Plus | กอง HL | ||||
4.1 ร่วมกับสาธารณสุขจังหวัด บูรณาการร่วมกับ มท. อปท. คกก.โรคติดต่อจังหวัด ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือให้สถานประกอบกิจการสถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ ปฏิบัติตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร COVID Free Setting และประเมินรับรองตนเองผ่านแพลตฟอร์ม Thai Stop COVID Plus พร้อมทั้งจัดตั้งทีมสุ่มตรวจประเมินกำกับติดตามการปฏิบัติตามมาตรการฯ สถานประกอบกิจการสถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ ในพื้นที่ 4.2 มอบหมายสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมทบทวนฐานข้อมูลสถานบันเทิง (Name List) จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ให้ครอบคลุมไปถึงฐานข้อมูลร้านอาหารที่เปิดให้บริการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ | ศอ.1-12 และ สสม.
สว. สอน. | ||||
5. เตรียมความพร้อมสนับสนุนข้อมูลสำหรับผู้บริหารหน่วยงาน รองรับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพื่อพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ในช่วงระหว่างวันที่ 31 พ.ค. - 2 มิ.ย.65 รวม 3 วัน โดยขอให้ผู้บริหารหน่วยงาน Stand by ตลอดการประชุมตามกำหนดดังกล่าว | ทุกหน่วยงาน | รับทราบ | |||
เรื่องสืบเนื่อง 3.1 สรุปสถานการณ์โควิด-19 จาก PHEOC กระทรวงฯ ทั้งนี้ได้มีการนำเสนอสถานการณ์และมาตรการการเฝ้าระวังโรคฝีดาษลิงในที่ประชุมด้วย (รายละเอียดดังเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะจากผู้ทรงฯ สมพงษ์ ดังนี้ เนื่องจากโรคฝีดาษลิงและคนอยู่ในตระกูลเดียวกัน ดังนั้นการป้องกันโดยใช้วัคซีนโรคฝีดาษในคนจึงสามารถป้องกันได้ (85 %) ซึ่งผู้ที่เกิดก่อน พ.ศ. 2523 ได้รับวัคซีนแล้ว แต่หลังจากนั้นจะไม่เคยได้รับวัคซีน ทั้งนี้ปัจจุบันมีเพียงประเทศสหรัฐอเมริกาและรัสเซียเท่านั้นที่มีการเก็บรักษาเชื้อนี้ไว้ และเนื่องจากโรคนี้มีอาการคล้ายหวัดและติดต่อโดยการสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วย/สัตว์ป่า air borne และกินเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก จึงสามารถใช้มาตรการป้องกันเช่นเดียวกับโควิดได้ (กินอาหารปรุงสุก ล้างมือ สวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง เป็นต้น) | กองแผนงาน | หน่วยงานรับทราบ | |||
3.2 รายงานอนามัยโพล “การรับรู้ทัศนคติต่อมาตรการป้องกันโรคและความพร้อมต่อการให้โควิด19 เป็นโรคประจำถิ่น” (รายละเอียดดังเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ข้อเสนอ เพื่อการสื่อสาร เสนอให้กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพนำผลสำรวจอนามัยโพลไปใช้ประกอบการสื่อสาร สร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง เช่น การดูแลตนเองเบื้องต้นและขั้นตอน วิธีเข้าถึงบริการรักษา เป็นต้น และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชน โดยเน้นให้ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง | กป.
กรส.
กรส. | ||||
5.1 คำแนะนำการใช้อุปกรณ์ส่วนบุคคลป้องกันการติดเชื้อ (PPE) สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุขและประชาชน (รายละเอียดดังเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อเสนอแนะจากที่ประชุม ดังนี้ - ผู้ทรงฯ สมพงษ์ : ให้คงมาตรการสวมหน้ากากสำหรับกลุ่ม 608 ไว้ และให้ review มาตรการ PPE ในส่วนของภาคประชาชน จากแหล่งข้อมูลอื่นและของต่างประเทศเพิ่มเติม - ผอ.กผ.: มาตรการสำหรับบุคลากรการแพทย์ทางกรมการแพทย์น่าจะดำเนินการแล้ว เสนอว่ากรมอนามัยควรจะ focus ไปที่มาตรการการใช้ PPE สำหรับประชาชนทั่วไปและเจ้าหน้าที่ภาคประชาชน เช่น อสม. เจ้าหน้าที่กู้ภัย เจ้าหน้าที่เก็บศพ เจ้าหน้าที่ที่เก็บตัวอย่างน้ำเสีย เป็นต้น | ส.ทันตะฯ. | หน่วยงานรับทราบ | |||
5.2 (ร่าง) ปรับเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงกิจกรรม/ กิจการ/ สถานประกอบการ ตามระดับสถานการณ์ (รายละเอียดขอให้ศึกษาจากเอกสารการประชุมที่แจ้งเวียนในกลุ่มไลน์ “ทีม SEhRT”) - ที่ประชุม รับทราบ โดยมีข้อสั่งการ ดังนี้ 1) ให้ปรับเกณฑ์ให้มีลักษณะที่สามารถนำไปสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจและปฏิบัติได้ง่ายขึ้นกว่านี้ เช่น จัดกลุ่มประเภทกิจกรรม/ กิจการ/สถานประกอบการใดบ้างที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง กลาง ต่ำ โดยดูแนวการเขียนของข้อสรุปมติศบค. เรื่อง สถานบันเทิง โดยให้ส่งภายในวันอังคารที่ 24 พ.ค. นี้ 2) ให้ใช้โอกาสที่กรมเป็นผู้กำหนดมาตรการต่างๆ เกี่ยวกับการส่งเสริม ป้องกันสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับประชาชนและ setting ต่างๆนี้ ต่อยอดในการดำเนินการตามภารกิจของกรม เช่น พ.ร.บ.การสาธารณสุขและการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
| สว.
สว.
ทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง |
มีการจัดประชุม stag เพื่อปรับเกณฑ์ที่จะนำไปสื่อสารแล้ว เมื่อวันที่ 24 พ.ค. 65 และได้นำเสนออธิบดี
กรมอนามัย พิจารณาการปรับเกณฑ์ดังกล่าว | |||
เรื่องอื่นๆ : 6.1 เสนอรายงานมติศบค. เรื่อง มาตรการสำหรับสถานบันเทิง มีข้อสั่งการ 2 ประเด็น คือ 1) สถานบันเทิงในพื้นที่ที่จะขอเปิดต้องมี NAME LIST 2) ส่วนกลางกรมอนามัยต้องรู้สถานประกอบการที่ประเมินผ่านเกณฑ์ในระบบ TSC นอกจากนี้ขอให้ประสานนอกรอบกับกระทรวงมหาดไทยและ ศปก.ศบค. เพื่อประสานข้อมูลและการกำกับในพื้นที่ 6.2 ติดตามงบฯ กลาง ข้อสั่งการ : ค่าเสี่ยงภัยให้ขอตามการปฏิบัติงานจริง หากเกี่ยวกับด้านการแพทย์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอเข้ามาได้เลย ส่วนที่เกี่ยวกับด้านสาธารณสุขและสังคมให้พิจารณา โดยบางเรื่องสามารถเขียนขอในเชิงยุทธศาสตร์ได้ 6.3 เนื่องจากการประชุม EOC กรมเหลือเพียง 1 ครั้ง/สัปดาห์ จึงให้นำเสนอรายงานผลให้ที่ประชุมทราบ ส่วนงานที่ได้รับมอบหมายที่ต้องพิจารณาในรายละเอียดให้ใช้กลไกอื่น
| สว
ทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง “” |
หน่วยงานรับทราบ | |||
1. ข้อสั่งการจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข ไม่มีข้อสั่งการโดยตรงถึงกรมอนามัย แต่มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ - สรุปข้อมูลที่อาจเกี่ยวข้องกับงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เรื่องข้อเสนอแนะสำหรับการจัดการเข้าสู่ระยะ Post – Pandemic เสนอพิจารณาให้จังหวัดที่พร้อมได้แสดงมาตรการบริหารจัดการ กรณีเข้าสู่ระยะ Post – Pandemic เพื่อให้มีการผ่อนคลายมาตรการทางสังคม เช่น Zoning Mask – Off, เปิดสถานบันเทิง โดยให้จัดส่งแผนปฏิบัติการฯ ให้ ศปก.ศบค และ สธ. ทราบ ก่อนการพิจารณาปรับระดับพื้นที่สถานการณ์ย่อยจากพื้นที่เฝ้าระวังสูง (สีเหลือง) เป็นพื้นที่เฝ้าระวัง (สีเขียว) โดย ศคบ. ซึ่งคาดมีผลบังคับใช้ 1 มิถุนายน 2565 - ให้ศูนย์เขตติดตามจังหวัดในเขตรับผิดชอบอย่างใกล้ชิดว่ามีความพร้อมสำหรับการเข้าสู่ระยะ Post – Pandemic ได้ เพื่อให้มีการผ่อนคลายมาตรการทางสังคม เช่น Zoning Mask – Off - ในส่วนกลางร่วมกันระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค กำหนด Zoning Mask – Off ควรเป็นพื้นที่แบบไหน ที่เปิดโล่ง มีระบบระบายอากาศที่ดี | หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค | รับทราบ | |||
2. สื่อสารเน้นย้ำให้ประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่องก่อนจะเข้าสู่ระยะ Post – Pandemic รวมถึงอนามัยผู้สูงอายุได้สื่อสารคำแนะนำและการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรค โดยเฉพาะการสวมหน้ากากตลอดเวลา ในช่วงเวลาร่วมกิจกรรมทางศาสนาวันวิสาขบูชา - การกำกับติดตาม เสนอให้ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 รวมถึงสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง สำนักอนามัยผู้สูงอายุ ได้กำกับติดตามเน้นย้ำการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรค ในวัด ศาสนสถาน เรื่องของการจัดให้มีการระบายอากาศที่ดี การเว้นระยะห่าง 1 – 2 เมตร | หน่วยงานส่วนภูมิภาค, สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง, กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ, สำนักอนามัยผู้สูงอายุ | ||||
3. เตรียมความพร้อมเรื่องเปิดเทอม ให้คงมาตรการร่วมตามที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศไป | หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค กองแผนงาน | ||||
สรุปข้อสั่งการ PHEOC สธ. มีข้อสั่งการ ดังนี้ 1.1 ศึกษาข้อเท็จจริงและลักษณะของอาการ Long Covid ในกลุ่มเด็กอายุไม่เกิน 5 ปี รวมทั้งความแตกต่างของเด็กที่ได้รับวัคซีนฯ และไม่ได้รับวัคซีนฯ | คลัสเตอร์สตรีและเด็กปฐมวัย | - | - | รับทราบ | |
รายงานอนามัยโพล มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 2.1 นำผลสำรวจอนามัยโพลไปใช้ประกอบการสื่อสารสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชน โดยเฉพาะประเด็นการรับรู้น้อยที่สุด ในเรื่องการดูแลตนเองเบื้องต้น และขั้นตอน วิธีการเข้าถึงบริการรักษา รวมทั้งสื่อสารเพิ่มความเชื่อมั่นให้ประชาชนในประเด็นความพร้อมต่อการให้โควิดเป็นโรคประจำถิ่น และการปฏิบัติตนป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง 2.2 นำผลสำรวจการรับรู้และทัศนคติต่อมาตรการป้องกันโรค และความพร้อมต่อการให้โควิดเป็นโรคประจำถิ่น ไปใช้ประกอบการกำหนดมาตรการป้องกันโรคในช่วง Post Pandemic | กรส.
ทีม STAG |
|
| อยู่ในระว่างการดำเนินการสื่อสาร
ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว | |
การประเมินตนเองของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในระบบ Thai Stop Covid Plus เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรควิด ในสถานการณ์การระบาดระลอกใหม่ มีข้อสั่งการ ดังนี้ 3.1 ปรับมาตรการ Covid Free Customer ในส่วนของหัวข้อ “มีการคัดกรอง” โดยเปลี่ยนสีของเขตพื้นที่การระบาด จากเดิม 1) สีแดงเข้ม 2) สีแดง ให้เป็น 1) พื้นที่นำร่องท่องเที่ยว (สีฟ้า) 2) พื้นที่เฝ้าระวังสูง (สีเหลือง) | สพด. | 1.ด้านมาตรการฯฉบับ 10 พ.ค. 65 ดำเนินการปรับมาตรการเรียบร้อยแล้ว 1) การตรวจ ATK ก่อนเปิดสพด.เปลี่ยนจาก 7 เป็น 3 วัน 2) การกักตัว ถ้าเป็นผู้เสี่ยงสูง เปลี่ยนเป็น 10 วันจากเดิม 14 วัน 3) ส่วนอื่นคงเดิมทั้งหมด 2.จัดส่งให้กองแผนงานนำไปเผยแพร่บนเว็ปไซต์ TSC/CFSแล้ว 3 .เผยแพร่ไปยังศอ/มท./พม.เรียบร้อยแล้ว | |||