คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนพฤศจิกายน   ปีงบประมาณ 2565

 

11

 

 

10

 

 

1

 

 

 

         
1. ข้อมูลผลการสำรวจความกังวลไปวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ให้เห็นว่ามาตรการที่ลงไปมีประสิทธิผลอย่างไร 

ทีมอนามัยโพล

ทีมวัยเรียน

             
2. ดูเพิ่มเติมว่าทางคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดได้ทำตามแผนเผชิญเหตุแค่ไหน เพื่อกลับมาดูว่ามาตรการของเรามีประสิทธิภาพแค่ไหน

ทีมอนามัยโพล

กอง HL

             
3. setting ทุก setting มีการประเมินข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์ว่าได้มาตรฐานเท่าไหร่ กป              

1.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามข้อเสนอในสไลด์ผลการสำรวจประเด็น ผลการปฏิบัติตนตามมาตรการป้องกันการติเชื้อแบบครอบจักรวาล(Universal Prevention)

1.2 มอบกอง HL นำเสนอประเด็นแนวทางการเลือกตั้งป้องกันการระบาดของโควิด-19 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ทำให้คนรวมกลุ่ม จัดทำเป็นข่าวสาร Infographic ในการให้คำแนะนำ ประชาชนทำตามมาตรการUP ความสะอาดของสถานที่ การเฝ้าระวังของบุคลากรในการฉีดวัคซีนและตรวจ ATK และควรแนะนำอย่าให้มีการทำผิดกฎหมายการเลือกตั้งเช่น การชุมนุมรวมกลุ่ม เป็นต้น

1.3 ให้ทีมอนามัยโพลเริ่มสำรวจเรื่องฝุ่น PM 2.5  และปรับ Event Poll  ตามสถานการณ์ โดยให้ศูนย์อนามัยนำผลอนามัยโพลไปใช้ประโยชน์และคืนข้อมูลให้กับผู้ตรวจราชการ และหน่วยงานหน่วยงานในพื้นที่

ทีม Anamai Poll ,

กอง HL, สอน. ,กอง ป.

กอง HL

 

ทีมอนามัยโพล

             

2.1 ให้ศูนย์สื่อสารสาธารณะ เพิ่มยอดผู้ติดตาม Facebook กรมอนามัย ภายในสิ้นปีนี้ โดยให้มียอดผู้ติดตามจำนวน200,000 คน และตั้งเป้าหมายกลางปีงบประมาณ 2565 ยอดผู้ติดตาม จำนวน 250,000 คน

2.2 ให้กอง HL ประสานทุกสำนัก ศูนย์อนามัย และ สสม. ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนและคนข้างเคียงเข้าร่วมติดตาม เพจผู้พิทักษ์อนามัย

ศูนย์สื่อสารสาธารณะ

HL , ทีม Anamai Poll

             

3.1 ให้ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบงานของศูนย์อนามัย รายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตรวจประเมิน Setting ตามมาตรการ Covid Free Setting ให้ส่วนกลางรวบรวม

3.2 ให้กองแผนงาน ซักซ้อมผู้ปฏิบัติงานของศูนย์อนามัย COVID Free Setting ในการใช้ระบบประเมินมาตรการ CFS และมอบกอง HLสื่อสารสร้างความเข้าใจกับประชาชนในการใช้บริการและผู้ประกอบการ

ทุกหน่วยงาน

ศอ. ทุกแห่ง สสม.

กองแผนงาน

             

4. ศูนย์อนามัยที่ 1 COVID Free Setting ในโรงพยาบาล มีการดำเนินการทั้ง Covid free personal , Covid free customer , Covid free environment  สำหรับศูนย์อนามัยที่ 11 COVID Free Setting มีการเยี่ยม ติดตาม ประเมินและเฝ้าระวังตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร มีการสนับสนุน ATK จากสถานประกอบกิจการ ตลาด ภัตตาคาร/ร้านอาหารแผงลอย และมีการตรวจหาเชื้อทางวิทยาศสตร์ในสถานประกอบกิจการ ตลาด ร้านอาหาร และน้ำทิ้งโรงพยาบาล

ศอ. 1 , ศอ. 11

             

5. สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และสำนักส่งเสริมสุขภาพปรับประเด็นผู้มาใช้บริการควรได้วัคซีนตามเกณฑ์และประสานกรมการแพทย์นำแนวทางแนวทางการป้องกันของบุคลากรทางการแพทย์เนื่องจากการให้บริการมาเป็นข้อมูลในการจัดทำมาตรการของบุคลากร และนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมอนามัยอีกครั้ง

สว.และ สส.

             

6.1 ให้ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ศอ.4, 5, 6 และสสม. เปิด Operation Center (OC) กรณีหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก กรมอนามัย (ทีม SAT, RC และ Logistic ) และให้เตรียมเฝ้าระวังบางพื้นที่ที่มีความเสี่ยง

6.2 มอบกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพประสานกับกองแผนงานเพื่อของบประมาณดำเนินการ เตรียมการจัดหาหน้ากาก N95  และหารือกับหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข (กองสาธารณสุขฉุกเฉิน) เตรียมชี้แจงจังหวัดผ่านทาง VDO Conference

6.3 มอบทีมสื่อสารหาข้อมูลเพิ่มเติม การเทียบเคียงกับประเทศอื่นๆ และแจ้งเตือนข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงต่อสุขภาพ พร้อมแนวทางการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ

6.4 มอบทีมอนามัยโพลเตรียมจัดทำแบบสำรวจโดยนำเอาของปีที่แล้วมาปรับปรุง แล้วพิจารณาช่วงเวลาในการ
สำรวจ พิจารณาประเด็นที่สำคัญ  ประเด็นโรคที่พบจากสาเหตุฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM5

6.5 เตรียมเปิด ศกพ.ส และสื่อสารให้ข้อมูลการป้องกันตนเองแก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ (ร่วมกับราชวิทยาลัยกุมารแพทย์และสมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย)

ส่วนกลาง

ส่วนภูมิภาค

ศอ.4, 5, 6 และสสม.

ทีมสื่อสารความเสี่ยง

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

ทีม Logistic

กอง HL

ทีมอนามัยโพล

             

1. ข้อสั่งการจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข มีข้อเสนอแนะดังนี้

- ให้กรมอนามัยติดตาม การปฏิบัติตามมาตรการ และเฝ้าระวังการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในตลาด

- ให้ส่วนภูมิภาคหรือท้องถิ่นทำหนังสือแจ้งสถานประกอบการในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มแรงงานต่างด้าวในสถานประกอบการ

มีข้อสั่งการ ดังนี้

- มอบศูนย์อนามัยเฝ้าระวัง กำกับ ติดตามการปฏิบัติตามมาตรการเพื่อการลดการแพร่ระบาดใน Setting

ตลาดและสนับสนุนชุดตรวจ ATK และให้รายงานข้อมูลกลับมากรมอนามัยต่อไปด้วย

รับทราบ

ศูนย์อนามัยร่วมดูแล

ในพื้นที่

- - ทุกหน่วยงานรับทราบ          

2. ผลการสำรวจ Anamai Event Poll “ความกังวลจากสถานการณ์โควิดกับการเปิดเรียนในโรงเรียน/สถานศึกษา (On Side)” ณ วันที่ 11 – 19 พ.ย.64 มีข้อสั่งการ ดังนี้

- ให้ศูนย์อนามัยสำรวจการฉีดวัคซีนในผู้ปกครองและเสนอ คกก. โรคติดต่อจังหวัดพิจารณามาตรการป้องกัน

รับทราบ

 

ศูนย์อนามัย    

- - หน่วยงานรับทราบ          

3. รายงานความก้าวหน้ากล่อง Operation / Logistic / HL มีข้อเสนอแนะดังนี้

- ให้จัดทำ Anamai Poll ในเรื่องการขยายเวลาการเปิดร้านอาหาร ร้านรวง จากเวลา 21.00 น. เป็น 23.00 น. เพื่อการอยู่รอดของผู้ประกอบการและผู้ใช้แรงงาน และกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยควรทำให้เสร็จภายใน 1 สัปดาห์

รับทราบ

ทีมอนามัยโพล
  ทีมอนามัยโพลดำเนินการเพิ่มคำถามในอนามัยโพลเรียบร้อยแล้ว          

5. รายงานผลการดำเนินงาน COVID Free Setting ศูนย์อนามัยที่ 4, 5, 8

- ให้มีการพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติหน้าที่ด้านการเงินการคลัง และกลุ่มอำนวยการทุกหน่วยงานให้เข้าใจระเบียบการเบิกจ่าย และการจัดซื้อจัดจ้างเข้าใจตรงกัน

- มอบกองคลังและศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัยเป็นต้นเรื่องในการพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินการคลังและระเบียบการเบิกจ่าย รวมทั้งกลุ่มอำนวยการของหน่วยงาน ในการซักซ้อมความเข้าใจให้ตรงกัน เกี่ยวกับระเบียบการเบิกจ่ายการให้บริการสิ่งส่งตรวจที่ Lab โดยให้แยกออกจากการคือ 1. การส่งสิ่งตรวจ 2. การผลิตสินค้าของ Lab  ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และดูตัวอย่างของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

- มอบกองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพให้สื่อสารความชัดเจนของวัตถุประสงค์ในการนำประเด็นต่าง ๆ ของกรมอนามัยให้ประชาชนเข้าใจตรงตามวัตถุประสงค์

- ให้กองแผนงานและสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมิน COVID FREE SETTING ในสถานประกอบการจากศูนย์อนามัยที่ 8 ให้กับเขตตรวจราชการที่ 8 และให้ศูนย์อนามัยอื่น ๆ ดำเนินการเช่นเดียวกับข้อเสนอแนะของศูนย์อนามัยที่ 8

- ให้นำเรื่อง COVID FREE SETTING ในสถานประกอบการ เสนอให้โฆษกกระทรวงสาธารณสุขชี้แจงต่อประชาชน

รับทราบ

กองคลัง

ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ

 

1. กองคลัง : จะดำเนินการจัดอบรมพัสดุ วันที่ 1-3 ธ.ค. 64

2. กองคลังจะดำเนินการจัดอบรมด้านการเงิน การคลัง และระเบียบการเบิกจ่าย เดือนธันวาคม 64 นี้

3.กอง HL : ดำเนินการผลิตสื่อที่บอกวัตถุประสงค์ของ COVID Free Setting และเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์เรียบร้อยแล้ว
         

6. ผลการวัคซีนในสตรีมีครรภ์

- ให้ศูนย์อนามัยสื่อสารให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดหรือผู้อำนวยการโรงพยาบาลต่าง ๆ ทราบผลการฉีดวัคซีนที่ได้เกินเป้าของจังหวัดปัตตานี

- ให้สำนักส่งเสริมสุขภาพจัดทำหนังสือแจ้ง คำแนะนำวิธีการฉีดวัคซีนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์เพื่อให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดได้เร็วขึ้นโดยมีวิธีการของจังหวัดปัตตานีเป็นตัวอย่าง

รับทราบ

ศูนย์อนามัย

สำนักส่งเสริมสุขภาพ
 

1.มีการเสนอ? best practice. จังหวัดปัตตานี? ผ่าน?EOC? กระทรวง? เมื่อวันที่? 19? พ.ย. 64

2.แถลงข่าวประเด็นนี้ผ่าน? ศูนย์?แถลงข่าวโควิด?19? สธ.? เมื่อวันที่?

19? พ.ย.64

3. ในวันที่ 24? พ.ย.? นี้? ประชุมถอดบทเรียนและขับเคลื่อนฉีดวัคซีน?ในหญิงตั้งครรภ์? โดย? กรมอนามัย? กรมควบคุมโรค? และ? WHO

4.ได้ดำเนินการแจ้งเวียนหนังสือ

ถึง? สสจ. ประเด็นสถานการณ์?และแนวทางปฎิบัติ?การฉีดวัคซีน?

 กรณีตัวอย่างจังหวัดที่ทำได้ดีภายในสัปดาห์นี้
         

7. การประชุม EOC กรมอนามัย

- ให้กองแผนงานปรับเป็นวันอังคารและวันพฤหัสบดี เพื่อให้มีเวลาดำเนินการข้อสั่งการต่าง ๆ ได้ทันเวลา

- ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข จัดทำ SOP การปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายให้หน่วยงาน ๆ รับทราบเพื่อการปฏิบัติได้ถูกต้อง

- กรมอนามัยยังต้องมีการกำกับ ติดตาม มาตรการการป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างต่อเนื่อง

- ทีม Operation ยังต้องมีการสุ่มประเมินการจัดกิจกรรมทางสังคมที่มีความสุ่มเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เช่น ผับ บาร์ คาราโอเกะ งาน Event คอนเสิร์ต งานประเพณีของไทย เทศกาลต่าง ๆ เป็นต้น

รับทราบ

กองแผนงาน

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข 

 

กองแผนงานดำเนินการปรับวันประชุมเรียบร้อยแล้ว

1. กองกฎหมาย ดำเนินการจัดทำ SOP แนวทางการใช้อำนาจของเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ในการตรวจตรา แนะนำ และกำกับดูแลกิจการตามกฎหมาย และได้ร่วมกับหน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดทำคู่มือเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมในการกำกับดูแลกิจการและกิจกรรมตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID-Free Setting) เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

2. โดยจะดำเนินการประชาสัมพันธ์โดยจัดทำหนังสือจาก ปลัดกระทรวง สธ. ถึงปลัดกระทรวง มท. เพื่อขอความร่วมมือให้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวฯ
         

 

1. เผ้าระวังการติดเชื้อใน Setting เช่นโรงเรียน เป็นต้น และสุ่มตรวจสถานประกอบการตามมาตรการ Covid Free Setting พร้อมทั้งสื่อสาร เผยแพร่ประชาชนทราบสถานประกอบการที่ดำเนินการแล้ว และสถานประกอบกิจการที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด - 19 ของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อป้องปรามและลดความเสี่ยงการระบาดในพื้นที่ ศูนย์อนามัย/สสม.              
2. สื่อสาร เน้นย้ำให้ประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล (Universal Prevention) อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเด็นที่มีแนวโน้มการปฏิบัติตามมาตรการที่ลดลง เช่น การสวมหน้ากากเมื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นในบ้าน และให้งดการรับประทานอาหารร่วมกันเพื่อลดความเสี่ยง เป็นต้น

กอง HL

             
3. นำข้อสังเกตจากอนามัยโพลเพื่อใช้ประกอบการการกำกับ ติดตามการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ของตลาดและร้านอาหารที่เปิดให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ด้วย

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

             
4. ประเมินการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในร้านอาหาร และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการดังกล่าว เช่น การจัดให้มีการเต้นรำ และแสดงดนตรีในร้านอาหาร ในพื้นที่รับผิดชอบด้วย ศูนย์อนามัย 1-12 และ สสม.              
5. จัดสรรและส่งมอบชุดตรวจ ATK  พิจารณาปรับเปลี่ยนแผนและกำหนด Setting ที่ต้องเข้าไปส่งเสริมการดำเนินงานให้เป็นไปตามสถานการณ์ และบริบทของพื้นที่ โดยให้กำกับ ติดตามการรายงานผลให้เป็นไปตามระบบที่กรมอนามัยกำหนดต่อไป ทุกหน่วยงานกรมอนามัยที่ได้รับจัดสรรชุดตรวจ ATK              
6. เร่งรัดสื่อสาร สร้างการรับรู้ และสนับสนุนให้ทุกจังหวัดดำเนินการตามข้อกำหนด ออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548  (ฉบับที่ 37) โดยกำกับให้สถานประกอบกิจการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting: CFS) ครอบคลุมทุกพื้นที่เพื่อรองรับการเปิดประเทศ

ศูนย์อนามัย 1-12 และ สสม.

             
7. ทบทวน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลสรุปผลการดำเนินการตามมาตรการ TSC Plus และ CFS พร้อมประสานกองแผนงาน เพื่อคืนข้อมูลรายงานผลดังกล่าวแก่ศูนย์อนามัย และ สสม. เพื่อประสานจังหวัดในการร่วมตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วนของข้อมูลระดับพื้นที่ ก่อนรวบรวมจัดทำสรุปข้อมูลภาพรวมของการปฏิบัติตามมาตรการ CFS เสนอในการประชุม PHEOC วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

ร่วมกับ

กองแผนงาน ศูนย์อนามัย 1-12 และ สสม.
             
8. ทบทวนแผนการจัดสรรชุดตรวจ ATK สำหรับบุคลากรกรมอนามัยส่วนกลาง

กองการเจ้าหน้าที่

             
9. จัดทำแนวทางการดำเนินงาน หรือมาตรการสำหรับผู้สูงอายุในสถานการณ์โควิด ให้เป็นแนวทางเดียวกันกับมาตรการความปลอดภัยองค์กร (COVID Free Setting) สำหรับองค์กร สำนักอนามัยผู้สูงอายุ              
10. จัดทำแนวทางมาตรการ CFS สำหรับองค์กร โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำหรับให้พื้นที่นำไปใช้ในการควบคุม กำกับให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในพื้นที่

สำนักส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับ

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

             

1. ข้อสั่งการกรมอนามัย

ในการรายงานข้อสั่งการ EOC กรมอนามัย ให้ระบุความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามข้อสั่งการด้วย เช่น

ทำอะไรไปแล้วบ้าง หากอยู่ระหว่างดำเนินการจะรายงานความก้าวหน้าอีกครั้งเมื่อไหร่ เป็นต้น

ทีม Liaison

กองแผนงาน
- - หน่วยงานรับทราบ          

2. ข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข จากการนำเสนอ (ร่าง) มาตรการเข้มงวดด้านสาธารณสุขในการป้องกัน COVID-19 สำหรับสถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ ของกรมอนามัย

ให้ประสานสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมรับทราบสรุปการประชุมและดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง

ทีม Liaison

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
  ดำเนินการแล้ว จะนำเสนอเข้าวาระประชุม EOC วันนี้          

3. อนามัยโพล

3.1.ให้ทีมอนามัยโพลดึงข้อมูลจังหวัดที่มีการตอบว่าไปท่องเที่ยวผับ บาร์ ว่ามีจังหวัดไหนบ้างเพื่อประสานให้ทีม operation ของศูนย์อนามัยลงพื้นที่ตรวจสอบ

ทีมอนามัยโพล และศูนย์อนามัย

 

ดำเนินการแล้ว จะนำเสนอข้อมูลของจังหวัด ในที่ประชุมEOCวันนี้

         

3.2 ให้ทีมอนามัยโพลสื่อสารประชาสัมพันธ์การตอบ Anamai Event Poll ประเด็น “คิดเห็นอย่างไร? กับการปรับมาตรการให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้านอาหารได้และเปิดสถานบันเทิง” เพื่อให้มีจำนวนผู้ตอบเพิ่มขึ้นสำหรับจัดทำข้อมูลแถลงข่าวในสัปดาห์หน้า

ทีมอนามัยโพลและกอง HL

 

1. อนามัยโพล: จะมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เพื่อเพิ่มการตอบ N ให้มากขึ้นและนำมาจัดทำข้อมูลเพื่อการแถลงข่าว

2. กอง HL : ดำเนินการเผยแพร่

เชิญชวนให้ตอบ Anamai Event Poll ในหัวข้อดังกล่าวผ่าน แฟนเพจกรมอนามัยตั้งแต่ วันที่ 4 พ.ย.64

         

3.3 ให้สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพจากการตรวจประเมินร้านอาหารที่ให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาวิเคราะห์ และเชื่อมโยงกับข้อมูลรายงานสถานการณ์รายวันว่ามีคลัสเตอร์จากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้านอาหารหรือไม่ และเปรียบเทียบกับข้อมูลเชิงปริมาณจากอนามัยโพล

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ  

ได้มีการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลร่วมกับ กทม.จำนวน 3 เขต ได้แก่ บางรัก พระนคร ปทุมวัน เมื่อวันศุกร์ ที่ 5 พ.ย. 64 เฉพาะพื้นที่ของกทม.เท่านั้น

 (ยังไม่รวมพื้นที่ ตจว.)
         

4. สื่อสาร

ให้จัดทำเนื้อหา Universal Prevention 6 ภาษาหลัก สำหรับนักท่องเที่ยว รวมทั้งเนื้อหาภาษาอื่นๆ ที่จำเป็น เช่น ภาษาพม่า ภาษาลาว ภาษายาวี เป็นต้น

กอง HL   จัดทำสื่อ Universal Prevention แล้ว 5 ภาษา (ไทย จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย อังกฤษ) กำลังดำเนินการผลิต 1 ภาษา (สเปน) ในส่วนภาษาอื่นๆ ที่จำเป็น อยู่ในระหว่างประสานการแปล          

5. เรื่องอื่นๆ

5.1 การจัดทำมาตรการ COVID Free Setting   

     1) ให้จัดทำมาตรการ COVID Free Setting 3 versions ได้แก่ สำหรับเจ้าหน้าที่  สำหรับผู้ประกอบการ และสำหรับประชาชน (ผู้ใช้บริการ) ทั้งนี้ให้ประสานกับกอง HL ในการสกัดเนื้อหาเพื่อการสื่อสารสำหรับประชาชน

      2) ให้ update มาตรการ แนวทางปฏิบัติ และ check list ใน Thai Stop COVID plus ให้เป็นปัจจุบัน

      3) ให้หน่วยงานส่วนกลาง ศูนย์อนามัย และสสม. ติดตามและประชาสัมพันธ์เพจ COVID Watch เพื่อเพิ่มยอดจำนวนผู้ติดตาม และมีส่วนร่วมในการประเมินการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคของสถานที่ต่างๆ ในพื้นที่

 

ผท.อัมพร จันทวิบูลย์
ทีม STAG วิชาการ และ

กอง HL

 

หน่วยงานส่วนกลาง
ศูนย์อนามัย และสสม.

 

 

 

 

-

 

 

อยู่ในระหว่างประสานข้อมูล

เพื่อจัดทำสื่อ

 

หน่วยงานรับทราบ
         

5.2 การประชุมซักซ้อมความเข้าใจแผนการเปิดประเทศ

ให้กองกฎหมาย หน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม และสายส่งเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง จัดประชุมซักซ้อมความเข้าใจแผนการเปิดประเทศการกำกับตามกฎหมาย/มาตรการ และการใช้เครื่องมือต่างๆ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน โดยให้จัดทำหนังสือไปยังกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสั่งการถึงจังหวัด อำเภอ และตำบล ในการเข้าร่วมประชุม

กองกฎหมาย

หน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม

และสายส่งเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง
 

- ดำเนินการ(ร่าง)หนังสือสั่งการให้ปฏิบัติตามแนวทาง CFS และกฎหมาย สธ. ลงนามโดยปลัด สธ. ไปยังปลัด กระทรวง มท. เพื่อขอความร่วมมือสั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติ

ตามแนวทางดังกล่าว

-ประชุมปรึกษาหารือแนวทางการจัดการเรื่องร้องเรียนในสถานการณ์โควิด 19 ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (วันที่12

พ.ย. 64)

- กำหนดวันจัดประชุมซักซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติ CFS วันที่ 23 พ.ย. 64 (เช้า) โดยท่านรองอรรถพล เป็นประธาน
         

5.3 มาตรการป้องกันโรค UP/CFS

ให้กองแผนงานประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียม normalize มาตรการป้องกันโรค ทั้ง Universal Prevention และ COVID Free Setting เมื่อสถานการณ์คลี่คลาย

กองแผนงานประสาน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  กองแผน  อยู่ระหว่างดำเนินการทำหนังสือแจ้ง Setting             ที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการดังกล่าว          

5.4 จากการประชุม (ร่าง) แผนปฏิบัติการรองรับการเปิดประเทศ

ให้จัดทำ SOP การแก้ไขปัญหากรณีข้อมูลไม่เข้าระบบ Thai Save Thai (เช่น ข้อมูลการฉีดวัคซีน ผลตรวจ ATK) และให้จัดทำระบบในการ Verify ก่อนเข้าสถานประกอบการ ทั้งนี้ ให้จัดทำของบกลางเพื่อดำเนินการต่อไป

กองแผนงาน   รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ          

5.5 การประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมการเปิดประเทศ ฯ (4 ภาค)

ให้ฝึกทีมศูนย์อนามัยในการ lead การประชุม และพิจารณาผู้เข้าร่วมประชุมจากส่วนกลางตามความเหมาะสม

กองแผนงาน

และศูนย์อนามัย
- - เลื่อนการประชุมจากเช้าวันนี้ออกไปก่อน ยังไม่มีกำหนดวันแต่ภายในสัปดาห์หน้า          

5.6 การประชุม EOC ครั้งต่อไป

ประชุม EOC กรมอนามัย ครั้งต่อไป คือวันพฤหัสบดีที่ 11 พ.ย.64 (แทนวันศุกร์ที่ 12 พ.ย.64)

ทีม Liaison

กองแผนงาน
- - ดำเนินการแจ้งทุกหน่วยงานรับทราบแล้ว          
1.1 การซักซ้อมการดำเนินการตามมาตรการ Covid Free Setting และ UP ตลอดจนจัดตั้งคณะกรรมการฯ และทีมบูรณาการตรวจประเมินการใช้งาน Thai Stop COVID+ / Thai Stop COVID2+ และ Thai Safe Thai รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายกับทุกจังหวัด
     (1) หารือ จัดทำหนังสือสั่งการ พร้อมแนบรายละเอียดการปฏิบัติงานระดับจังหวัด อำเภอ และท้องถิ่น รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
     (2) จัดประชุมผ่าน VDO Conference กับผู้รับผิดชอบในระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งหน่วยงานรับผิดชอบ ดังนี้
         (2.1) กระบวนการประเมิน ตรวจสอบ และกำกับติดตาม

กองแผนงาน

 

 

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กองประเมินผลกระทบฯ

กองกฎหมาย
             
         (2.2) ประชุมชี้แจงการใช้งาน Thai Stop COVID+ / Thai Stop COVID2+ และ Thai Safe Thai
 
กองแผนงาน              

         (2.3) จัดทำข้อมูลนำเสนอความก้าวหน้าการปฏิบัติงานต่อ ศปก.ศบค. และ PHEOC กสธ. ตลอดจนคืนข้อมูลแก่ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นายอำเภอ และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
กองประเมินผลกระทบฯ
ทุกศูนย์อนามัยและ
สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
             
1.2 จัดทำแผนสุ่มประเมินและตรวจแนะนำการปฏิบัติตามมาตรการและการควบคุมกำกับติดตามใน Setting ต่างๆ
คณะทำงานปฏิบัติการ
ทุกศูนย์อนามัยและ
สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
             

1.3 จัดทำและเสนอหนังสือสั่งการอย่างเป็นทางการ เพื่อให้หน่วยดำเนินการจัดทำแผนและรายงานผลการสุ่มประเมินตรวจแนะนำการปฏิบัติตามมาตรการใน Setting ต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงคุณภาพควบคู่กับข้อมูลเชิงปริมาณผ่านการสำรวจอนามัยโพล

กองแผนงาน
กองกฎหมาย
คณะทำงานอนามัยโพล
             
1.4 รวบรวม ประมวลผลการสุ่มประเมินและตรวจแนะนำ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคจากหน่วยดำเนินการทั้งส่วนกลางและภูมิภาค เพื่อรายงานผลการปฏิบัติการต่อการประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยฯ (EOC) กรมอนามัย ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขฯ (PHEOC) กระทรวงสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด 19 (ศปก.ศบค.) ต่อไป กองแผนงาน              

2. จากข้อสั่งคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยฯ กรมอนามัย เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ให้หน่วยดำเนินการติดตามและรวบรวมข้อสั่งการจากศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขฯ (PHEOC) กระทรวงสาธารณสุข โดยหากมีข้อสั่งการสำคัญ และจำเป็นให้พิจารณาบรรจุในวาระสืบเนื่องในการประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยฯ (EOC) กรมอนามัยต่อไป

คณะทำงาน Liaison              

3. จากนโยบายเปิดประเทศและประกาศพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว (Blue Zone) หากสถานประกอบกิจการ/กิจกรรมใดที่มีความประสงค์ร่วมประเมินรับรองตนเองผ่าน Thai Stop COVID+ / Thai Stop COVID2+ สามารถดำเนินได้ โดยไม่จำกัดเฉพาะพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดเท่านั้น

ทุกหน่วยรับทราบ     รับทราบ          

4. คู่มือสำหรับเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในการกำกับดูแลกิจการและกิจกรรมตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขอให้รวบรวมและจัดทำให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายนนี้

นางอัมพร จันทวิบูลย์

นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ
    รับทราบ          

5. ประมวลข้อสั่งการและจัดทำหนังสือราชการเพื่อแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เร่งดำเนินการและมีการกำกับติดตามโดยเร่งด่วนต่อไป

กองแผนงาน
คณะทำงาน Liaison
             

6.1 สื่อสารข่าวสารในลักษณะ Press release ในประเด็นเน้นย้ำให้ประชาชนในพื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังคงปฏิบัติตนตามหลักการป้องกันการติดเชื้อแบบครอบจักรวาล (Universal Prevention) อย่างต่อเนื่อง ทั้งในที่สาธารณะและในบ้าน รวมทั้งประเมินความเสี่ยงของตนเองและคนในครอบครัว

กองสื่อสารความรอบรู้ฯ
ศูนย์อนามัยที่ 11 และ 12
             
6.2 สืบเนื่องจากมาตรการให้ร้านอาหารสามารถให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้
     (1) ร่วมตอบแบบสำรวจอนามัยโพล  และดำเนินการส่งต่อ/กระจายแบบสำรวจ เพื่อให้มีจำนวนผู้ตอบได้ตามเป้าหมาย
ทุกหน่วยงาน (ส่วนกลาง ทุกศูนย์อนามัย และสสม.)              

     (2) สุ่มประเมินและตรวจแนะนำการปฏิบัติตามมาตรการของร้านอาหารที่ให้บริการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ทุกศูนย์อนามัยและ
สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
             
     (3) สำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อมาตรการร้านอาหารที่ให้บริการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผ่านการสำรวจอนามัยโพล (Anamai Event Poll)

คณะทำงานอนามัยโพล

             
6.3 รวบรวม และประมวลข้อมูลจากการสุ่มประเมิน ตรวจแนะนำ และการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนจากอนามัยโพล นำเสนอในการประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยฯ (EOC) กรมอนามัย ในวันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 และนำข้อมูลข้างต้นประกอบการแถลงข่าวกระทรวงสาธารณสุขในวันพุธที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ต่อไป
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
กองสื่อสารความรอบรู้ฯ
             
6.4 สำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อมาตรการการเปิดสถานศึกษาผ่านการสำรวจอนามัยโพล (Anamai Event Poll)
คณะทำงานอนามัยโพล
สำนักส่งเสริมสุขภาพ
คลัสเตอร์วัยเรียน
ทุกศูนย์อนามัยและ
สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
             
6.5 พิจารณาประยุกต์และใช้ประโยชน์จากผลการสำรวจอนามัยโพล (Anamai Event Poll) เพื่อประกอบการดำเนินการในพื้นที่
ศูนย์อนามัยที่ 1
ทุกหน่วยงาน
             

7. เนื่องจากตลาดนัดกระทรวงสาธารณสุข กำหนดเปิดอีกครั้งในวันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ขอให้หน่วยดำเนินการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพิ่มความเข้มข้นของมาตรการตลาดสด และระมัดระวังการระบาดของโรคแบบกลุ่มก้อน อันอาจมีความเสี่ยงจากกลุ่มคนงานแคมป์ก่อสร้างที่ภายในกระทรวงสาธารณสุข

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ              

เรื่องแจ้งเพื่อทราบ

1.1 ขอให้ศึกษารายละเอียดของจังหวัดเปิดนำร่องการท่องเที่ยว 17 จังหวัด โดยมี 4 จังหวัดที่เปิดทั้งจังหวัดและอีก 13 จังหวัดเปิดเป็นบางพื้นที่

   1.2 ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตามดูสถานการณ์อุทกภัยซึ่งยังคงพบในหลายพื้นที่ และพื้นที่ใหม่ที่มีน้ำหลาก

   1.3 จากกรณีการเปิดนำร่องจังหวัดท่องเที่ยวจะมีกิจการที่มีการจัดการเปิดเพิ่มมากขึ้น ขอให้พิจารณาภารกิจของกรมอนามัยที่เกี่ยวข้องที่เป็นปกติและได้รับมอบหมายในการจัดการโควิด-19 ขอให้บูรณาการการดำเนินงานต่อไป

ติดตามเฝ้าระวังกิจกรรมและกิจการที่เปิดเพิ่มมากขึ้น พิจารณาภารกิจกรมที่เกี่ยวข้องภารกิจหลักตามปกติและที่ได้รับมอบหมายเรื่องการ

   1.4 สำหรับกรณีการตรวจเยี่ยมพื้นที่ของรองนายกรัฐมนตรี (นายอนุทิน ชาญวีระกุล) ที่จังหวัดเชียงใหม่ซึ่งมีการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น โดยประเด็นที่เกี่ยวข้องคือ Covid Free Setting ซึ่งทางที่ประชุม EOC กระทรวงสาธารณสุขมีข้อสั่งการให้ทุกจังหวัดและหน่วยงานสาธารณสุขใช้กลไกจังหวัด เน้นหลักการ 4 เรื่อง 1) Universal Prevention (UP)  2)ความครอบคลุมการฉีดวัคซีน 3)COVID Free Setting (CFS) ทำร่วมกับSHA โดยให้ดำเนินการตาม CFS เป็นหลักดำเนินการก่อน 4)การคัดกรองหาเชื้อและสุ่มเฝ้าระวังโดยหาชุดทดสอบที่เชื่อถือได้มาทดสอบใน Setting
ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - - หน่วยงานรับทราบ          

2.1 มอบทีม Liaison นำมติจาก PHEOC กระทรวงสาธารณสุข ประกอบการทำหนังสือสั่งการโดยกระทรวงฯลงนามเพื่อแจ้งนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย และกรุงเทพมหานคร ในเรื่อง COVID Free Setting ที่มีกฎหมายบังคับ

 

2.2 หารือชมรมผู้ประกอบการต่าง ๆ กิจการที่อยู่ภายใต้กฎหมายที่กรมอนามัยดูแล และนำข้อสั่งการมาสื่อสาร

 

Liaison

 

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กองกฎหมายและหน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

อยู่ระหว่างดำเนินการ

รอสรุประชุมจาก EOC กระทรวง

 

หน่วยงานรับทราบ

         

อนามัยโพล

   3.1 มอบกอง HL ให้นำข้อมูลผลการสำรวจให้ think tank team วิเคราะห์ร่วมกับ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ไปปรับข้อมูล เพื่อนำไปเสนอข่าว และจะนำไปเสนอที่ประชุม  EOC กระทรวงสาธารณสุข และศปก.ศบค. ต่อไป

   3.3 Facebook “COVID WATCH” และผู้พิทักษ์อนามัย ให้เพิ่มช่องทางและยอดจำนวนผู้ติดตามโดยเริ่มจากเจ้าหน้าที่ในกรมอนามัยและคนรอบตัว
ทีมอนามัยโพล สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และกองส่งเสริมความรอบรู้ ฯ ทีม   ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว          

รายงานความก้าวหน้าการป้องกันโควิด-19 ในหญิงตั้งครรภ์และทารก

   มอบสำนักส่งเสริมสุขภาพปรับสไลด์และเพิ่มเติมเรื่องการฉีดวัคซีน การวิเคราะห์รายจังหวัดเพื่อชี้นำจังหวัดที่ยังดำเนินการยังไม่ดี การเสียชีวิตและการฉีดวัคซีน โดยร่วมกับราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยตรวจสอบข้อมูล  นำเสนอนอกรอบก่อนนำเสนอที่ประชุม EOC กระทรวงสาธารณสุขต่อไป
สำนักส่งเสริมสุขภาพ - - รับทราบ          

(ร่าง) มาตรการ CFS สถานบันเทิง

ที่ประชุมมีข้อเสนอแนะดังนี้

 - วิเคราะห์ความเสี่ยงเรื่อง คนผิดกฎหมาย กิจการที่มีการปกปิด กิจกรรมผิดกฎหมาย สิ่งผิดกฎหมาย

 - ปรับข้อ 3.2 เป็นตรวจคัดกรองด้วย Thai Save Thai หรือ แอปพลิเคชั่นอื่น

 - การตรวจ ATK เปลี่ยนเป็น การตรวจ Antigen Test

 - แนวทางมาตรการบางอย่างให้สอบถามผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะพิจารณาชื่ออีกครั้ง

 - การเชื่อมระบบ Thai Save Thai อาจเกิดปัญหาเรื่องการประเมินไม่ผ่าน มอบกองแผนงานเตรียมความพร้อมเรื่อง IT

 - Environment ข้อ 4.1 เพิ่มกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีผับบาร์ หรือใส่เครื่องหมาย ฯลฯ

 - ปรับข้อ 4.1(1)(2) เสนอให้เขียนว่าผู้ใช้บริการให้เป็นไปตามสถานการณ์

ที่ประชุม รับทราบและให้ข้อเสนอแนะ  มีข้อสั่งการ

   5.1 มอบสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมนำข้อเสนอแนะไปปรับเนื้อหาภายในวันที่ 2 พฤศจิกายน และนัดหารือระหว่างกรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร ในวันพุธที่ 3 พฤศจิกายน หลังจากนั้นรับฟังความเห็นจากผู้ประกอบการ และเสนอ(ร่าง)ภายในสัปดาห์นี้หรือต้นสัปดาห์หน้า

   5.2 มอบกองแผนงานเตรียมความพร้อมเรื่อง IT  การเชื่อมระบบ Thai Save Thai และด้านเทคนิค

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กองแผนงาน
  ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว          

แนวทางและมาตรการลอยกระทง

ที่ประชุมมีข้อเสนอแนะดังนี้

  - ข้อ 7 ใช้คำว่า แผงลอยจำหน่ายอาหาร และ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  - ให้พิจารณาข้อ 7 ว่าจะงดดื่มหรืองดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  - เพิ่ม หมายเหตุจำนวนคนเป็นไปตามข้อกำหนดการรวมกลุ่มคนตามประกาศฯ นอกเหนือประกาศ ฯ ให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือกรุงเทพมหานคร

ที่ประชุมเห็นชอบมาตรการป้องกันและควบคุม ฯ เทศกาลลอยกระทง ในข้อ 1 – 6 ข้อ 7 ไปตรวจสอบ ข้อ 8 – 9 เห็นชอบในหลักการและเสนอสำนักระบาดกรมควบคุมโรคพิจารณาเห็นชอบหรือจะเพิ่มเข้มกว่า โดยอ้างอิงกรมควบคุมโรค เสนอกระทรวงวัฒนธรรม และดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในสัปดาห์นี้

กองประเมินผลกระทบ

ต่อสุขภาพ
 

ดำเนินการแล้ว

ใช้คำว่า งดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ตามนโยบายท่านนายกฯ

และประกาศของ กทม.ไม่ให้มีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
         
7.1 มาตรการ CFS ของกรมสุขภาพจิต มอบผู้ทรงคุณวุฒิ(อัมพร) เป็นบรรณาธิการ และหัวหน้าทีม  มอบกอง สำนัก ที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการได้   กองแผนงานเป็นผู้ประสานงานในภาพรวม

ผู้ทรงอัมพร จันทวิบูลย์

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กอง สำนัก

ศูนย์อนามัย สสม.
  รับทราบ