เดือนตุลาคม ปีงบประมาณ 2565
| 3 |
|
| 2 |
|
| 1 |
|
1. ประสาน FB และ Google ให้จัดลำดับให้ข้อมูลการแจ้งร้องเรียน Covid watch Thailand อยู่ในลำดับต้นของการสืบค้น | HL | ||||
2. นำประเด็นการดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่สีเขียว เหลือง โดยฉเพาะสีฟ้าทั้งจังหวัดมาสื่อสารในแง่ของการดื่มแบบปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ ทั้งผู้ดื่มและผู้ประกอบกิจการ | HL | ||||
3. สถานการณ์อุทกภัย 3.1 การขอสนับสนุนน้ำดื่มบรรจุขวดจากกปภ.เขตโดยให้ส่งไปที่ศอ. | HL | ||||
4. ทบทวนและจัดทำมาตรการต่างๆ เพื่อนำไปพิจารณาใช้ในพื้นที่สีฟ้าที่อยู่ท่ามกลางพื้นที่ที่มีการระบาดอยู่ | ทรงอัมพร +กองที่เกี่ยวข้อง กผ.
| ||||
5. เช็คมาตรการ คำแนะนำ บนแพล็ตฟอร์มในระบบให้เรียบร้อย ที่เว็บไซต์กรมและ TSC ให้จัดเก็บในแพล็ตฟอร์มที่ถูกต้องตรงตามสถานการณ์ | |||||
6. ให้ทำ SOP การดำเนินงานตามมาตรการ แนวปฏิบัติ คำแนะนำ check list การขับเคลื่อน การควบคุมกำกับ การดำเนินการเมื่อมีการฝ่าฝืนตามกฎหมาย | |||||
1. ตรวจสอบข้อมูล Cluster ที่ยังมีการระบาดใน Setting ต่างๆ ของพื้นที่รับผิดชอบ เช่น โรงเรียน ตลาด ฯลฯ ทั้งในเรื่องชื่อและที่อยู่ของสถานประกอบกิจการ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และดำเนินการแก้ไข | ศอ.1, 7 และ 10 | ||||
2.1 ให้ทีมอนามัยโพลเพิ่มเติมจำนวน N และวิเคราะห์คุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม | กป. | ||||
2.2 ประสานการทำงานร่วมกับกองHL ดำเนินการจัดทำโพลเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการสื่อสารของกรมอนามัย เพื่อนำข้อมูลจากอนามัยโพลใช้ประกอบในการแถลงข่าวของกรมอนามัย | กป. / กอง HL | ||||
3.1 ผลิตสื่อเรื่อง Universal Prevention ในหลากหลายประเภทสื่อ (สติ๊กเกอร์ โปสเตอร์ ป้าย ฯลฯ) และมีภาษาหลักตามสหประชาชาติ 6 ภาษา สำหรับภาษาอื่นแล้วแต่จะพิจารณาความเหมาะสม โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มคนที่ใช้ชีวิตตามปกติ ทั้งคนไทยและแรงงานต่างด้าว โดยผลิตสื่อรองรับแรงงานต่างด้าวมากกว่านักท่องเที่ยว เช่น ภาษาพม่า เขมร ลาว และ 2) กลุ่มนักท่องเที่ยว ทั้งคนไทยและคนต่างชาติ โดยให้ความสำคัญกับภาษาสากล เช่น อังกฤษ จีน สเปน อาหรับ และมอบกองแผนงานในการพิจารณางบประมาณ | กอง HL และกองวิชาการที่เกี่ยวข้อง กองแผนงาน | ||||
4.1 ทบทวนและหารือร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับมาตรการ CFS ให้ชัดเจนและนำกลับมานำเสนอในการประชุม EOC กรม วันพุธที่ 27 ต.ค. 64 ในประเด็น 1) การสร้างความเข้าใจกับผู้ประกอบกิจการ/กิจกรรม ในการประเมินตามมาตรการ CFS แบบ Self – Certification การปรับป้าย 2) การสร้างความเข้าใจกับสังคม เรื่อง People Voice 3) การเฝ้าระวังด้วย Active Inspection ต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดเก็บและคืนข้อมูลให้พื้นที่ เนื่องจากคาดการณ์ว่าการร้องเรียนในแต่ละวันจะมีปริมาณมาก ควรปรึกษา Sub Contract มืออาชีพมาช่วยทำงานด้านการจัดเก็บ แยกประเภทข้อมูล และแจ้งไปยังพื้นที่ที่เกี่ยวข้องอย่างรวดเร็ว | กองแผนงาน / สว. / กป. / สอน. / ศอ. ทุกแห่ง / สสม. | ||||
4.2 นัดหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องประเด็นการใช้อำนาจ ตาม ม.8 และ ม.46 ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขในสถานการณ์โควิด – 19 โดยทบทวน Flow และการตีความให้ชัดเจน | กกม. | ||||
5.1 รวบรวมข้อมูลโรงเรียนที่ประเมินตนเองในระบบ TSC และต้องการแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดในใบ Certificate แยกตามพื้นที่ของ ศอ. และจัดส่งให้กองแผนงานเพื่อดำเนินการแก้ไข | ศอ. ทุกแห่ง / สสม. | ||||
5.2 เข้าร่วมประชุมกับกระทรวงสาธารณสุข และสมาคมผู้ประกอบการร้านค้าสัญจร ในวันพรุ่งนี้ (26 ต.ค. 64) เพื่อหารือเรื่องมาตรการผ่อนปรนให้กับผู้ประกอบการของสมาคมฯ | สว. / กป. | ||||
5.3 ซักซ้อมและชี้แจงผู้ใต้บังคับบัญชาให้เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับข้อมูลของการประชุม EOC กรม หากผู้บริหารหรือผู้ใต้บังคับบัญชาไม่เข้าใจในประเด็นใด ให้สอบถามกลับมาที่ส่วนกลาง | ศอ. ทุกแห่ง / สสม. | ||||
1.จากข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การจัดทำระบบ COVID Watch ในห้างสรรพสินค้า ให้กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหารือกับกองแผนงาน เรื่องการ set ระบบ COVID watch ในห้างสรรพสินค้า (อาจเป็น Google form) เพื่อให้กลุ่มแม่บ้านเข้ามาใช้และประเมินการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคของห้างสรรพสินค้า | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ | |||
2.อนามัยโพล ให้วิเคราะห์ข้อมูลผลการสำรวจ Anamai Event Poll ประเด็น “คิดเห็นอย่างไร? กับการเปิดเมือง เปิดประเทศ เริ่ม 1 พ.ย.64” เชิงพื้นที่ (พื้นที่แบ่งตามสี และพื้นที่แบ่งตามจังหวัดที่จะมีการผ่อนคลายนำร่องการท่องเที่ยว) โดยให้มานำเสนอในวันจันทร์ที่ 25 ต.ค.64 เพื่อจะเป็นข้อมูลสำหรับการสื่อสารในวันพุธที่ 27 ต.ค.64 ต่อไป | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | รับทราบ กองประเมินฯ นำเสนอรายละเอียดวันนี้ | |||
3. สื่อสาร 3.1 ให้จัดทำคลิปวิดีโอสั้นๆ ความหมายดีๆ และสร้างสรรค์โดนใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค Universal Prevention และ COVID Free Setting โดยให้ทำไว้หลายๆ ชุด เพื่อทยอยเปิดในการแถลงข่าวทุกสัปดาห์ 3.2 ให้หารือกับมหาเถรสมาคม เครือข่ายพระคิลานุปัฏฐาก เกี่ยวกับมาตรการการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงในพิธีงานศพ เช่น การดื่มสุรา และการรวมกลุ่มเล่นการพนันในงานศพ เป็นต้น |
กอง HL
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ |
|
กอง HLอยู่ระหว่างดำเนินการ
อยู่ระหว่างการประสานสำนักงานพระพุทธ เพื่อนำเข้า มหาเถรสมาคม วันที่ 30 ตุลาคม 2564 | ||
4. OP น้ำท่วม ให้ศูนย์อนามัยที่มีพื้นที่ประสบภัยน้ำท่วมและต้องการสิ่งสนับสนุน/อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ส้วมกระดาษ สามารถแจ้งมายังสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดส่งไปให้ต่อไป | ศูนย์อนามัยที่มีพื้นที่ ประสบภัยน้ำท่วม และสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | หน่วยงานรับทราบ | |||
5. เตรียมความพร้อมมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดโควิด 19 ประเพณี งานบุญ COVID Free Setting ช่วงเทศกาลออกพรรษา ประจำปี พ.ศ. 2564 ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี 5.1 ให้เพิ่มมาตรการป้องกันโรคในการขายของริมน้ำ/ฟุตบาต ในงานประเพณี 5.2 ให้กำกับมาตรการส้วมสาธารณะในงาน เช่น ติดตั้งเจลแอลกอฮอล์ล้างมือก่อนเข้าไปใช้ส้วมสาธารณะ และให้สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้ ผู้มาเที่ยวงาน ล้างมือเป็นประจำเมื่อใช้บริการส้วมสาธารณะ 5.3 ควรมีฐานข้อมูล setting สำคัญ เช่น ร้านอาหาร โรงแรม/ที่พัก ร้านอาหารริมบาทวิถี เป็นต้น ในระบบ TSC เพื่อเฝ้าระวังจุดเสี่ยง ทั้งนี้สามารถส่งข้อมูลให้ส่วนกลางช่วยวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้ | ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี | รับทราบ | |||
6. ข้อเสนอการผ่อนปรน COVID Free Setting การออกกำลังกายและการแข่งขันกีฬา 6.1 ให้เพิ่มมาตรการป้องกันโรคของ Personal trainer ใน Fitness Center 6.2 ให้ทบทวนเรื่องการออกมาตรการว่าครบถ้วนหรือยัง รวมทั้งประเด็นที่ยังไม่ชัดเจน เช่น การตรวจ ATK การฉีดวัคซีน ทั้งนี้ ให้ update มาตรการตามสถานการณ์ ปรับมาตรการใน TSC+ และกำหนดผู้รับผิดชอบในการนำมาตรการไป implement นอกจากนี้ ให้เพิ่มเรื่องการบังคับใช้ในกรณีที่มีการฝ่าฝืน 6.3 ให้กองแผนงานบริหารจัดการเรื่องการจัดทำมาตรการใน setting ต่างๆ โดยให้ท่านผู้ทรงอัมพร จันทวิบูลย์ จัดตั้งทีมบรรณาธิการ เพื่อดูภาพรวมด้านวิชาการของมาตรการต่างๆ สำหรับส่งให้จังหวัดได้เตรียมการก่อนที่จะมีการเปิดเมือง เปิดประเทศ ในเดือน พ.ย.-ธ.ค.64 |
กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ
ผู้ทรงอัมพร จันทวิบูลย์ และกองแผนงาน |
| รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ และประสานงานส่วนที่เกี่ยวข้อง
รับทราบ | ||
7.มาตรการ COVID Free Setting การท่องเที่ยว ให้สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม หากพบว่ามีความเสี่ยงเฉพาะ ใน setting ต่างๆ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ทั้งนี้ ให้ส่งไฟล์เอกสารมาตรการที่นำเสนอ ให้อธิบดีกรมอนามัยพิจารณาต่อไป | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | รับทราบ | |||
8. รายงานการคาดการณ์สถานการณ์ เดือน พฤศจิกายน 2564 – มกราคม 2565 8.1 ให้เพิ่มข้อเสนอมาตรการเรื่องการบังคับใช้ โดยเฉพาะกรณีการลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืน รวมทั้งการ empower ของประชาชน อย่างต่อเนื่อง 8.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ อย่างเป็นรูปธรรม | STAG กองแผนงาน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง | ดำเนินการแล้วทั้ง 2 ข้อ ได้มอบกองกฎหมายจัดทำ Flow การบังคับใช้กฎหมายและมอบหมายหน่วยงานดำเนินการจัดทำ sop แล้ว | |||
1. ช่วงเทศกาลบุญทอดกฐินที่คาดว่ามีจำนวนผู้ร่วมงานบุญจำนวนมาก โดยเฉพาะที่จังหวัดอุทัยธานี ช่วงวันที่ 17–18 พฤศจิกายน 2564 ควรมีการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ก่อนที่เข้างานบุญ เช่น บริการตรวจ ATK บริการฉีดวัคซีน เป็นต้น | ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง | ||||
2. ผลการสำรวจ Anamai Event Poll “คิดเห็นอย่างไร? กับการปรับมาตรการให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ในร้านอาหารได้” 2.1 พิจารณาความชัดเจนในมาตรการและบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย และประสานงานกับพื้นที่ ท้องถิ่นหรือผู้รับผิดชอบในการทำหน้าที่ตามบทบาทที่เกี่ยวข้อง 2.2 ให้เพิ่มจำนวน N จากการสำรวจในกลุ่มผู้ที่บริโภคในร้านอาหาร กลุ่มที่ไปงานเลี้ยง | สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ | ||||
3. นำเสนอข่าวเด่นประจำวัน เช่น พื้นที่เกาะเสม็ดกระตุ้นการท่องเที่ยว เข้มมาตรการ COVID Free Setting เตือนการใช้เครื่องทำน้ำอุ่นระบบแก๊ส ATK ไม่ผ่าน อย. เป็นเหตุ เป็นต้น | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | ||||
4. ขอให้เร่งรัดการดำเนินการลงพื้นที่ตามแผนปฏิบัติการ Operation กรมอนามัย และรวบรวมข้อมูลปัญหาอุปสรรคและนำมา ประมวลผลเพื่อปรับปรุงการดำเนินการและนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมอนามัยตามที่กำหนด | ทีม Operation | ||||
5. ให้เตรียมร่างหนังสือที่จะให้จังหวัดำเนินการอะไร ร่าง Template ใบงานที่จะให้ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมคิดร่วมทำ และให้สำนัก/กอง/ศูนย์อนามัย สังกัดกรมอนามัยร่วมกันดำเนินการจัดประชุม | กองแผนงาน สำนัก/กอง/ศูนย์ | ||||
6. ให้ร่วมกับทีมกำกับมาตรการ โดยกรมอนามัยทำในบทบาทของการเป็นผู้ให้คำแนะนำ สนับสนุน การดำเนินการตามมาตรการ และให้เข้าร่วมสังเกตุการณ์การจัด EVENT สำคัญ ๆ พร้อมทั้งให้มีการประเมิน เสริมพลัง การปฏิบัติตามมาตรการของผู้จัด EVENT และประมวลผลส่งกลับให้พื้นที่ | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
1. หารือกับกรมควบคุมโรคเพื่อกำหนดมาตรการเปิดดำเนินการในประเด็นสนามเด็กเล่น | Stag | ||||
2. ให้สื่อสารเน้นย้ำให้ประชาชนปฏิบัติตนตามมาตรการ Universal Prevention อย่างต่อเนื่อง และขอให้มีการสื่อสารรณรงค์พฤติกรรมการล้างมือเป็นประจำอย่างถูกต้อง เนื่องในวันล้างมือโลก ในวันที่ 15 ตุลาคม 2564 | กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ | ||||
3. สนอมาตรการ หลักเกณฑ์การพิจารณา COVID Free Zone Setting ให้ที่ประชุมพิจารณาในวันศุกร์ที่ 15 ต.ค.64 | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม | ||||
การแถลงข่าวเรื่องแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับการจัดพิธีศพ ทั้งนี้ ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและหลายภาคส่วนแสดงความวิตกกังวลเรื่องการสนับสนุน ATK ที่อาจไม่ครอบคลุม จึงมีข้อเสนอให้มุ่งเน้นมาตรการ UP-DMHTT มากกว่ามาตรการ ATK | ทุกหน่วยงาน | ||||
การนำเสนอผลการสำรวจอนามัยโพล และการตรวจจับข่าว มีข้อสั่งการจากการประชุม ดังนี้ 1.สื่อสารและสร้างเข้าใจแก่นักเรียนรวมถึงผู้ปกครองเรื่องประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 2.นำผลการสำรวจอนามัยโพลไปใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อจัดทำมาตรการการเปิดเรียนในเดือนพฤศจิกายนนี้ต่อไป |
กองสื่อสารความรอบรู้ฯ
คลัสเตอร์วัยเรียน |
|
| ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ | |
จากสรุปประชุมคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรการฯ เพื่อจัดทำข้อเสนอในการปรับพื้นที่จังหวัดตามพื้นที่สถานการณ์ การออกนอกเคหสถาน การจำกัด/ปิดสถานที่ และกิจกรรม/กิจการ การจำกัดการเดินทาง/การขนส่งสาธารณะการปฏิบัติงานนอกสถานที่ทำการของส่วนราชการ และพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว ทั้งนี้ มีข้อสั่งการให้หน่วยดำเนินการประสานหารือกับ กรมควบคุมโรค เพื่อเสนอให้กิจการ/กิจกรรมเกี่ยวกับเครื่องเล่นในห้างสรรพสินค้า สามารถเปิดดำเนินการได้ต่อไป | คณะทำงาน STAG | รับทราบ ดำเนินการ | |||
มาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) สำหรับการจัดงานแต่งงาน มีข้อเสนอให้เพิ่มมาตรการ COVID Free Customer โดยเพิ่ม “แนะนำกลุ่ม 608 ฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ตามหน่วยราชการกำหนด” | กองประเมินผลกระทบฯ | รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ | |||
กรอบการขอจัดสรรงบกลาง ค่าใช้จ่ายในการบรรเทา แก้ไขปัญหา และเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปีงบประมาณ 2565 (รอบตุลาคม – พฤศจิกายน 2565) เห็นชอบกรอบกิจกรรม เพื่อขอจัดสรรงบกลางฯ และมีข้อสั่งการ ดังนี้ 1.ภายใต้กิจกรรมหลักการขับเคลื่อน COVID Free Zone มาตรการ COVID Free Setting ในพื้นที่เปิดเมืองเปิดประเทศ ให้มีการเพิ่มกิจกรรมเรื่องการพัฒนาระบบ Health Inspector ในภาพรวมระดับประเทศและระดับภูมิภาค 2.การขับเคลื่อนงาน COVID Free Zone ให้มีการเพิ่มเติมกลไกการควบคุมกำกับร่วมด้วย โดยให้มีการเชื่อมโยงกับคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) เพื่อร่วมขับเคลื่อนงานต่อไป | ทุกหน่วยงาน
คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
| รับทราบ ดำเนินการ | |||
การรายงานสรุปสถานการณ์อุทกภัย ให้หน่วยดำเนินการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพื่อออกแบบหรือปรับรูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่ยิ่งขึ้น เช่น ความเหมาะสมของการสนับสนุนชุดนายสะอาด รวมถึงการจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว/จุดอพยพ ซึ่งต้องคำนึงถึงสถานการณ์และมาตรการป้องกันควบคุมโรคโควิด 19 ร่วมด้วย | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และศูนย์อนามัยทุกศูนย์ | หน่วยงานรับทราบ | |||
1. ให้จัดทำ มาตรการ/แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันโรคโควิด -19 สำหรับการทำบุญวันออกพรรษา เพื่อเร่งสื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชนในการทำบุญวันออกพรรษา | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กอง HL | ||||
2. ประชาสัมพันธ์และสื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชน เน้นย้ำเรื่องการปฏิบัติตามมาตรการ Universal Prevention ของประชาชน โดยเฉพาะในช่วงปลายปี ที่คาดว่าจะมีประชาชนเริ่มวางแผนเดินทางไปท่องเที่ยวในสถานที่ต่างๆ | สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กอง HL | ||||
3. รายงานแผนการสื่อสารเผยแพร่ข่าว วันที่ 7 ตุลาคม 2564 ซึ่งมีประเด็น “อนามัยโพล เผย ครู นักเรียน พร้อมเรียน พร้อมสอนในสถานศึกษาควบออนไลน์” เร่งประชาสัมพันธ์และสื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชน เพื่อยกระดับมาตรการป้องกัน ควบคุมโรคโควิด-19 ในการเปิดเรียน | กอง HL | ||||
4. ประสานสมาคมห้างสรรพสินค้าพิจารณามาตรการในเรื่องระยะเวลาการอยู่ในห้างสรรพสินค้า การปฏิบัติในแต่ละกิจกรรมเสี่ยงและการตรวจ ATK เฉพาะกิจการเสี่ยง แล้วนำมาปรับมาตรการนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมฯ ในวันที่ 8 ต.ค.64 | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
5. ตรวจสอบสรุปผล (ร่าง) ข้อเสนอการปรับมาตรการของพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด สำหรับการศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม นิทรรศการ และงานต่างๆ ในประเด็นเรื่องของวัคซีนและการตรวจ ATK แล้วนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมฯ ในวันที่ 8 ต.ค.64 | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ | ||||
1. สังเคราะห์องค์ประกอบของพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ (UP) ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของกระทรวงฯ ที่กำหนดค่าเป้าหมายพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร้อยละ 80 | ทีม Anamai Poll และทีม STAG | ||||
2. นำเสนอข้อมูลจำนวนผู้แสดงความรู้สึกเชิงลบ เพื่อหาสาเหตุที่ทำให้ประชาชนแสดงความรู้สึกเชิงลบ | |||||
3.1 การดำเนินงานในช่วงสถานการณ์ปัญหาอุทกภัย ให้คำนึงแนวปฏิบัติตาม SOP 3.2 เน้นการสนับสนุนทางด้านวิชาการ แนวปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อทบทวนแนวปฏิบัติของผู้เกี่ยวข้องในกรณีที่มีเหตุ 3.3 เตรียมสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ สำรองไว้บางส่วน 3.4 ให้มีการส่งข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือในกรณีที่มีเหตุเป็นการเฉพาะของบางพื้นที่ | ศูนย์อนามัยทุกแห่ง | ||||
4.1 ปรับมาตรการตามที่ ศปก.สธ. เห็นชอบ และจัดทำเป็น Power Point และเอกสาร Word ตามรูปแบบที่กำหนด 4.2 Setting ที่ยังไม่ได้ประกาศเปิดกิจการ ให้ใช้กรอบนี้ในการจัดทำมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) | หน่วยงานเจ้าภาพ Setting | ||||
5.1 Kick off การฉีดวัคซีนในเด็ก 5.2 แจ้งศูนย์อนามัยในการลิงค์ระบบ ZOOM โดยผู้รับผิดชอบงานวัยเรียนได้มีการเตรียมพื้นที่เรียบร้อยแล้ว 5.3 กำกับติดตามผู้รับผิดชอบงานวัยเรียน ในการประสานผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัดเข้าร่วมพิธีเปิด | ศูนย์อนามัยทุกแห่ง |