คุณกำลังมองหาอะไร?

ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อสั่งการ

การประชุมคณะทำงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัยด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) และโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  

  เดือนตุลาคม  ปีงบประมาณ 2565

 

3

 

 

2

 

 

1

 

 

 

1. ประสาน FB และ Google ให้จัดลำดับให้ข้อมูลการแจ้งร้องเรียน Covid watch Thailand อยู่ในลำดับต้นของการสืบค้น

HL

   
2. นำประเด็นการดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่สีเขียว เหลือง โดยฉเพาะสีฟ้าทั้งจังหวัดมาสื่อสารในแง่ของการดื่มแบบปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ ทั้งผู้ดื่มและผู้ประกอบกิจการ

HL

   

3. สถานการณ์อุทกภัย

3.1 การขอสนับสนุนน้ำดื่มบรรจุขวดจากกปภ.เขตโดยให้ส่งไปที่ศอ.

HL

   
4. ทบทวนและจัดทำมาตรการต่างๆ เพื่อนำไปพิจารณาใช้ในพื้นที่สีฟ้าที่อยู่ท่ามกลางพื้นที่ที่มีการระบาดอยู่

ทรงอัมพร

+กองที่เกี่ยวข้อง

กผ.

 


 

   
5. เช็คมาตรการ คำแนะนำ บนแพล็ตฟอร์มในระบบให้เรียบร้อย ที่เว็บไซต์กรมและ TSC ให้จัดเก็บในแพล็ตฟอร์มที่ถูกต้องตรงตามสถานการณ์    
6. ให้ทำ SOP การดำเนินงานตามมาตรการ แนวปฏิบัติ คำแนะนำ check list การขับเคลื่อน การควบคุมกำกับ การดำเนินการเมื่อมีการฝ่าฝืนตามกฎหมาย    
1. ตรวจสอบข้อมูล Cluster ที่ยังมีการระบาดใน Setting ต่างๆ ของพื้นที่รับผิดชอบ เช่น โรงเรียน ตลาด ฯลฯ ทั้งในเรื่องชื่อและที่อยู่ของสถานประกอบกิจการ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และดำเนินการแก้ไข

ศอ.1, 7 และ 10

   
2.1 ให้ทีมอนามัยโพลเพิ่มเติมจำนวน N และวิเคราะห์คุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม

กป.

   
2.2 ประสานการทำงานร่วมกับกองHL ดำเนินการจัดทำโพลเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการสื่อสารของกรมอนามัย เพื่อนำข้อมูลจากอนามัยโพลใช้ประกอบในการแถลงข่าวของกรมอนามัย

กป. / กอง HL

   
3.1 ผลิตสื่อเรื่อง Universal Prevention ในหลากหลายประเภทสื่อ (สติ๊กเกอร์ โปสเตอร์ ป้าย ฯลฯ) และมีภาษาหลักตามสหประชาชาติ  6 ภาษา สำหรับภาษาอื่นแล้วแต่จะพิจารณาความเหมาะสม โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มคนที่ใช้ชีวิตตามปกติ ทั้งคนไทยและแรงงานต่างด้าว โดยผลิตสื่อรองรับแรงงานต่างด้าวมากกว่านักท่องเที่ยว เช่น ภาษาพม่า เขมร ลาว และ 2) กลุ่มนักท่องเที่ยว ทั้งคนไทยและคนต่างชาติ โดยให้ความสำคัญกับภาษาสากล เช่น อังกฤษ จีน สเปน อาหรับ และมอบกองแผนงานในการพิจารณางบประมาณ

กอง HL และกองวิชาการที่เกี่ยวข้อง

กองแผนงาน

   
4.1 ทบทวนและหารือร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับมาตรการ CFS ให้ชัดเจนและนำกลับมานำเสนอในการประชุม EOC กรม วันพุธที่ 27 ต.ค. 64 ในประเด็น
   1) การสร้างความเข้าใจกับผู้ประกอบกิจการ/กิจกรรม ในการประเมินตามมาตรการ CFS แบบ Self – Certification การปรับป้าย
   2) การสร้างความเข้าใจกับสังคม เรื่อง People Voice 
   3) การเฝ้าระวังด้วย Active Inspection ต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดเก็บและคืนข้อมูลให้พื้นที่ เนื่องจากคาดการณ์ว่าการร้องเรียนในแต่ละวันจะมีปริมาณมาก ควรปรึกษา Sub Contract มืออาชีพมาช่วยทำงานด้านการจัดเก็บ แยกประเภทข้อมูล และแจ้งไปยังพื้นที่ที่เกี่ยวข้องอย่างรวดเร็ว

กองแผนงาน / สว. / กป. / สอน. / ศอ. ทุกแห่ง / สสม.

   
4.2 นัดหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องประเด็นการใช้อำนาจ ตาม ม.8 และ ม.46 ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขในสถานการณ์โควิด – 19 โดยทบทวน Flow และการตีความให้ชัดเจน

กกม.

   
5.1 รวบรวมข้อมูลโรงเรียนที่ประเมินตนเองในระบบ TSC และต้องการแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดในใบ Certificate แยกตามพื้นที่ของ ศอ. และจัดส่งให้กองแผนงานเพื่อดำเนินการแก้ไข

ศอ. ทุกแห่ง / สสม.

   
5.2 เข้าร่วมประชุมกับกระทรวงสาธารณสุข และสมาคมผู้ประกอบการร้านค้าสัญจร ในวันพรุ่งนี้ (26 ต.ค. 64) เพื่อหารือเรื่องมาตรการผ่อนปรนให้กับผู้ประกอบการของสมาคมฯ

สว. / กป.

   
5.3 ซักซ้อมและชี้แจงผู้ใต้บังคับบัญชาให้เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับข้อมูลของการประชุม EOC กรม หากผู้บริหารหรือผู้ใต้บังคับบัญชาไม่เข้าใจในประเด็นใด ให้สอบถามกลับมาที่ส่วนกลาง

ศอ. ทุกแห่ง / สสม.

   

1.จากข้อสั่งการ PHEOC กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การจัดทำระบบ COVID Watch ในห้างสรรพสินค้า

ให้กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหารือกับกองแผนงาน เรื่องการ set ระบบ COVID watch ในห้างสรรพสินค้า (อาจเป็น Google form) เพื่อให้กลุ่มแม่บ้านเข้ามาใช้และประเมินการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคของห้างสรรพสินค้า

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
และกองแผนงาน

  รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ

2.อนามัยโพล

ให้วิเคราะห์ข้อมูลผลการสำรวจ Anamai Event Poll ประเด็น “คิดเห็นอย่างไร? กับการเปิดเมือง เปิดประเทศ เริ่ม 1 พ.ย.64” เชิงพื้นที่ (พื้นที่แบ่งตามสี และพื้นที่แบ่งตามจังหวัดที่จะมีการผ่อนคลายนำร่องการท่องเที่ยว) โดยให้มานำเสนอในวันจันทร์ที่ 25 ต.ค.64 เพื่อจะเป็นข้อมูลสำหรับการสื่อสารในวันพุธที่ 27 ต.ค.64 ต่อไป

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

  รับทราบ กองประเมินฯ นำเสนอรายละเอียดวันนี้

3. สื่อสาร

3.1 ให้จัดทำคลิปวิดีโอสั้นๆ ความหมายดีๆ และสร้างสรรค์โดนใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค Universal Prevention และ COVID Free Setting โดยให้ทำไว้หลายๆ ชุด เพื่อทยอยเปิดในการแถลงข่าวทุกสัปดาห์

3.2 ให้หารือกับมหาเถรสมาคม เครือข่ายพระคิลานุปัฏฐาก เกี่ยวกับมาตรการการป้องกันโรคและลดปัจจัยเสี่ยงในพิธีงานศพ เช่น การดื่มสุรา และการรวมกลุ่มเล่นการพนันในงานศพ เป็นต้น

 

กอง HL

 

 

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
และสำนักอนามัยผู้สูงอายุ

 

 

 

 

 

กอง HLอยู่ระหว่างดำเนินการ

 

อยู่ระหว่างการประสานสำนักงานพระพุทธ เพื่อนำเข้า มหาเถรสมาคม วันที่ 30 ตุลาคม 2564

4. OP น้ำท่วม

ให้ศูนย์อนามัยที่มีพื้นที่ประสบภัยน้ำท่วมและต้องการสิ่งสนับสนุน/อุปกรณ์ต่างๆ  เช่น ส้วมกระดาษ สามารถแจ้งมายังสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดส่งไปให้ต่อไป

ศูนย์อนามัยที่มีพื้นที่

ประสบภัยน้ำท่วม

และสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

  หน่วยงานรับทราบ

5. เตรียมความพร้อมมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดโควิด 19 ประเพณี งานบุญ COVID Free Setting ช่วงเทศกาลออกพรรษา ประจำปี พ.ศ. 2564 ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

5.1 ให้เพิ่มมาตรการป้องกันโรคในการขายของริมน้ำ/ฟุตบาต ในงานประเพณี

5.2 ให้กำกับมาตรการส้วมสาธารณะในงาน เช่น ติดตั้งเจลแอลกอฮอล์ล้างมือก่อนเข้าไปใช้ส้วมสาธารณะ และให้สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้     ผู้มาเที่ยวงาน ล้างมือเป็นประจำเมื่อใช้บริการส้วมสาธารณะ

5.3 ควรมีฐานข้อมูล setting สำคัญ เช่น ร้านอาหาร โรงแรม/ที่พัก ร้านอาหารริมบาทวิถี เป็นต้น ในระบบ TSC เพื่อเฝ้าระวังจุดเสี่ยง ทั้งนี้สามารถส่งข้อมูลให้ส่วนกลางช่วยวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้

ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

  รับทราบ

6. ข้อเสนอการผ่อนปรน COVID Free Setting การออกกำลังกายและการแข่งขันกีฬา

6.1 ให้เพิ่มมาตรการป้องกันโรคของ Personal trainer ใน Fitness Center

6.2 ให้ทบทวนเรื่องการออกมาตรการว่าครบถ้วนหรือยัง รวมทั้งประเด็นที่ยังไม่ชัดเจน เช่น การตรวจ ATK การฉีดวัคซีน ทั้งนี้ ให้ update มาตรการตามสถานการณ์ ปรับมาตรการใน TSC+ และกำหนดผู้รับผิดชอบในการนำมาตรการไป implement นอกจากนี้ ให้เพิ่มเรื่องการบังคับใช้ในกรณีที่มีการฝ่าฝืน

6.3 ให้กองแผนงานบริหารจัดการเรื่องการจัดทำมาตรการใน setting ต่างๆ โดยให้ท่านผู้ทรงอัมพร จันทวิบูลย์ จัดตั้งทีมบรรณาธิการ เพื่อดูภาพรวมด้านวิชาการของมาตรการต่างๆ สำหรับส่งให้จังหวัดได้เตรียมการก่อนที่จะมีการเปิดเมือง เปิดประเทศ ในเดือน พ.ย.-ธ.ค.64

 

กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ

 

 

 

 

ผู้ทรงอัมพร จันทวิบูลย์

และกองแผนงาน

 

 

 

 

 

 

รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ และประสานงานส่วนที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

รับทราบ

7.มาตรการ COVID Free Setting การท่องเที่ยว

ให้สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม หากพบว่ามีความเสี่ยงเฉพาะ ใน setting ต่างๆ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ทั้งนี้ ให้ส่งไฟล์เอกสารมาตรการที่นำเสนอ ให้อธิบดีกรมอนามัยพิจารณาต่อไป

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

  รับทราบ

8. รายงานการคาดการณ์สถานการณ์ เดือน พฤศจิกายน 2564 – มกราคม 2565

8.1 ให้เพิ่มข้อเสนอมาตรการเรื่องการบังคับใช้ โดยเฉพาะกรณีการลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืน รวมทั้งการ empower ของประชาชน อย่างต่อเนื่อง

8.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ อย่างเป็นรูปธรรม

STAG กองแผนงาน และ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  ดำเนินการแล้วทั้ง 2 ข้อ     ได้มอบกองกฎหมายจัดทำ Flow การบังคับใช้กฎหมายและมอบหมายหน่วยงานดำเนินการจัดทำ sop แล้ว
1. ช่วงเทศกาลบุญทอดกฐินที่คาดว่ามีจำนวนผู้ร่วมงานบุญจำนวนมาก โดยเฉพาะที่จังหวัดอุทัยธานี ช่วงวันที่ 17–18 พฤศจิกายน 2564 ควรมีการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ก่อนที่เข้างานบุญ เช่น บริการตรวจ ATK บริการฉีดวัคซีน เป็นต้น

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย

สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
   

2. ผลการสำรวจ Anamai Event Poll “คิดเห็นอย่างไร? กับการปรับมาตรการให้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ในร้านอาหารได้”

2.1 พิจารณาความชัดเจนในมาตรการและบทบาทที่เกี่ยวข้องกับกรมอนามัย และประสานงานกับพื้นที่ ท้องถิ่นหรือผู้รับผิดชอบในการทำหน้าที่ตามบทบาทที่เกี่ยวข้อง

2.2 ให้เพิ่มจำนวน N จากการสำรวจในกลุ่มผู้ที่บริโภคในร้านอาหาร กลุ่มที่ไปงานเลี้ยง 

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ                 
3. นำเสนอข่าวเด่นประจำวัน เช่น พื้นที่เกาะเสม็ดกระตุ้นการท่องเที่ยว เข้มมาตรการ COVID Free Setting  เตือนการใช้เครื่องทำน้ำอุ่นระบบแก๊ส ATK ไม่ผ่าน อย. เป็นเหตุ เป็นต้น กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ    
4. ขอให้เร่งรัดการดำเนินการลงพื้นที่ตามแผนปฏิบัติการ Operation กรมอนามัย และรวบรวมข้อมูลปัญหาอุปสรรคและนำมา ประมวลผลเพื่อปรับปรุงการดำเนินการและนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมอนามัยตามที่กำหนด ทีม Operation    
5. ให้เตรียมร่างหนังสือที่จะให้จังหวัดำเนินการอะไร ร่าง Template ใบงานที่จะให้ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมคิดร่วมทำ และให้สำนัก/กอง/ศูนย์อนามัย สังกัดกรมอนามัยร่วมกันดำเนินการจัดประชุม

กองแผนงาน

สำนัก/กอง/ศูนย์
   
6. ให้ร่วมกับทีมกำกับมาตรการ โดยกรมอนามัยทำในบทบาทของการเป็นผู้ให้คำแนะนำ สนับสนุน การดำเนินการตามมาตรการ และให้เข้าร่วมสังเกตุการณ์การจัด EVENT สำคัญ ๆ พร้อมทั้งให้มีการประเมิน เสริมพลัง การปฏิบัติตามมาตรการของผู้จัด EVENT และประมวลผลส่งกลับให้พื้นที่

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

   
1. หารือกับกรมควบคุมโรคเพื่อกำหนดมาตรการเปิดดำเนินการในประเด็นสนามเด็กเล่น Stag    
2. ให้สื่อสารเน้นย้ำให้ประชาชนปฏิบัติตนตามมาตรการ Universal Prevention อย่างต่อเนื่อง และขอให้มีการสื่อสารรณรงค์พฤติกรรมการล้างมือเป็นประจำอย่างถูกต้อง เนื่องในวันล้างมือโลก ในวันที่ 15 ตุลาคม 2564 กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ    
3. สนอมาตรการ หลักเกณฑ์การพิจารณา COVID Free Zone Setting ให้ที่ประชุมพิจารณาในวันศุกร์ที่ 15 ต.ค.64 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม    
การแถลงข่าวเรื่องแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับการจัดพิธีศพ ทั้งนี้ ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและหลายภาคส่วนแสดงความวิตกกังวลเรื่องการสนับสนุน ATK ที่อาจไม่ครอบคลุม จึงมีข้อเสนอให้มุ่งเน้นมาตรการ UP-DMHTT มากกว่ามาตรการ ATK ทุกหน่วยงาน      

การนำเสนอผลการสำรวจอนามัยโพล และการตรวจจับข่าว มีข้อสั่งการจากการประชุม ดังนี้

1.สื่อสารและสร้างเข้าใจแก่นักเรียนรวมถึงผู้ปกครองเรื่องประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19

2.นำผลการสำรวจอนามัยโพลไปใช้ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อจัดทำมาตรการการเปิดเรียนในเดือนพฤศจิกายนนี้ต่อไป

 

กองสื่อสารความรอบรู้ฯ

 

คลัสเตอร์วัยเรียน

 

 

 

 

 

ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

 

รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ
จากสรุปประชุมคณะกรรมการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรการฯ เพื่อจัดทำข้อเสนอในการปรับพื้นที่จังหวัดตามพื้นที่สถานการณ์ การออกนอกเคหสถาน การจำกัด/ปิดสถานที่ และกิจกรรม/กิจการ การจำกัดการเดินทาง/การขนส่งสาธารณะการปฏิบัติงานนอกสถานที่ทำการของส่วนราชการ และพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว ทั้งนี้ มีข้อสั่งการให้หน่วยดำเนินการประสานหารือกับ กรมควบคุมโรค เพื่อเสนอให้กิจการ/กิจกรรมเกี่ยวกับเครื่องเล่นในห้างสรรพสินค้า สามารถเปิดดำเนินการได้ต่อไป คณะทำงาน STAG  

รับทราบ ดำเนินการ

มาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting) สำหรับการจัดงานแต่งงาน มีข้อเสนอให้เพิ่มมาตรการ COVID Free Customer โดยเพิ่ม “แนะนำกลุ่ม 608 ฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ตามหน่วยราชการกำหนด กองประเมินผลกระทบฯ   รับทราบ อยู่ระหว่างดำเนินการ

กรอบการขอจัดสรรงบกลาง ค่าใช้จ่ายในการบรรเทา แก้ไขปัญหา และเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปีงบประมาณ 2565 (รอบตุลาคม – พฤศจิกายน 2565) เห็นชอบกรอบกิจกรรม เพื่อขอจัดสรรงบกลางฯ และมีข้อสั่งการ ดังนี้

1.ภายใต้กิจกรรมหลักการขับเคลื่อน COVID Free Zone มาตรการ COVID Free Setting ในพื้นที่เปิดเมืองเปิดประเทศ ให้มีการเพิ่มกิจกรรมเรื่องการพัฒนาระบบ Health Inspector ในภาพรวมระดับประเทศและระดับภูมิภาค

2.การขับเคลื่อนงาน COVID Free Zone ให้มีการเพิ่มเติมกลไกการควบคุมกำกับร่วมด้วย โดยให้มีการเชื่อมโยงกับคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) เพื่อร่วมขับเคลื่อนงานต่อไป

ทุกหน่วยงาน

 

คลัสเตอร์อนามัยสิ่งแวดล้อม

 

 

 

  รับทราบ ดำเนินการ
การรายงานสรุปสถานการณ์อุทกภัย ให้หน่วยดำเนินการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพื่อออกแบบหรือปรับรูปแบบการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่ยิ่งขึ้น เช่น ความเหมาะสมของการสนับสนุนชุดนายสะอาด รวมถึงการจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว/จุดอพยพ ซึ่งต้องคำนึงถึงสถานการณ์และมาตรการป้องกันควบคุมโรคโควิด 19 ร่วมด้วย

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

และศูนย์อนามัยทุกศูนย์
    หน่วยงานรับทราบ
1. ให้จัดทำ มาตรการ/แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันโรคโควิด -19 สำหรับการทำบุญวันออกพรรษา เพื่อเร่งสื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชนในการทำบุญวันออกพรรษา

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

กอง HL
   
2. ประชาสัมพันธ์และสื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชน เน้นย้ำเรื่องการปฏิบัติตามมาตรการ Universal Prevention ของประชาชน โดยเฉพาะในช่วงปลายปี ที่คาดว่าจะมีประชาชนเริ่มวางแผนเดินทางไปท่องเที่ยวในสถานที่ต่างๆ

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม

กอง HL
   
3. รายงานแผนการสื่อสารเผยแพร่ข่าว วันที่ 7 ตุลาคม 2564  ซึ่งมีประเด็น “อนามัยโพล เผย ครู นักเรียน พร้อมเรียน พร้อมสอนในสถานศึกษาควบออนไลน์” เร่งประชาสัมพันธ์และสื่อสารสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชน เพื่อยกระดับมาตรการป้องกัน ควบคุมโรคโควิด-19 ในการเปิดเรียน กอง HL    
4. ประสานสมาคมห้างสรรพสินค้าพิจารณามาตรการในเรื่องระยะเวลาการอยู่ในห้างสรรพสินค้า การปฏิบัติในแต่ละกิจกรรมเสี่ยงและการตรวจ ATK เฉพาะกิจการเสี่ยง แล้วนำมาปรับมาตรการนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมฯ ในวันที่ 8 ต.ค.64 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ    
5. ตรวจสอบสรุปผล (ร่าง) ข้อเสนอการปรับมาตรการของพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด สำหรับการศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม นิทรรศการ และงานต่างๆ ในประเด็นเรื่องของวัคซีนและการตรวจ ATK  แล้วนำเสนอในที่ประชุม EOC กรมฯ ในวันที่ 8 ต.ค.64 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ    
1. สังเคราะห์องค์ประกอบของพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ (UP) ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของกระทรวงฯ ที่กำหนดค่าเป้าหมายพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร้อยละ 80  ทีม Anamai Poll และทีม STAG    
2. นำเสนอข้อมูลจำนวนผู้แสดงความรู้สึกเชิงลบ เพื่อหาสาเหตุที่ทำให้ประชาชนแสดงความรู้สึกเชิงลบ      

3.1 การดำเนินงานในช่วงสถานการณ์ปัญหาอุทกภัย ให้คำนึงแนวปฏิบัติตาม SOP

3.2 เน้นการสนับสนุนทางด้านวิชาการ แนวปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อทบทวนแนวปฏิบัติของผู้เกี่ยวข้องในกรณีที่มีเหตุ 

3.3 เตรียมสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ สำรองไว้บางส่วน 

3.4 ให้มีการส่งข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือในกรณีที่มีเหตุเป็นการเฉพาะของบางพื้นที่ 
ศูนย์อนามัยทุกแห่ง    

4.1 ปรับมาตรการตามที่ ศปก.สธ. เห็นชอบ และจัดทำเป็น Power Point และเอกสาร Word ตามรูปแบบที่กำหนด 

4.2 Setting ที่ยังไม่ได้ประกาศเปิดกิจการ ให้ใช้กรอบนี้ในการจัดทำมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID Free Setting)
หน่วยงานเจ้าภาพ Setting    

5.1 Kick off การฉีดวัคซีนในเด็ก 

5.2 แจ้งศูนย์อนามัยในการลิงค์ระบบ ZOOM โดยผู้รับผิดชอบงานวัยเรียนได้มีการเตรียมพื้นที่เรียบร้อยแล้ว

5.3 กำกับติดตามผู้รับผิดชอบงานวัยเรียน ในการประสานผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัดเข้าร่วมพิธีเปิด
ศูนย์อนามัยทุกแห่ง