เดือนกันยายน ปีงบประมาณ 2565
| 0 |
|
| 0 |
|
| 0 |
|
1. ข้อสั่งการจากการประชุม PHEOC กระทรวงสาธารณสุข มีข้อเสนอแนะดังนี้ - ให้กรมควบคุมโรคปรับข้อความในเกณฑ์การรับผู้ป่วย Covid – 19 รักษาในโรงพยาบาล และเกณฑ์การแยกกักผู้ป่วย Covid – 19 ระยะ Post – Pandemic ใหม่ให้ชัดเจน สอดคล้องกับข้อมูลอื่น ๆ - ให้ปรับชื่อแผนแผนปฏิบัติการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระยะเปลี่ยนผ่านสู่โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตุลาคม 2565 - กันยายน 2566 เป็น แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระยะเปลี่ยนผ่านสู่โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตุลาคม 2565 - กันยายน 2566 | รับทราบ | - | - | หน่วยงานรับทราบ | |
2. ผลการสำรวจ Anamai General Poll “สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด – 19 และปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของประชาชนในการป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2565” - มอบอนามัยโพลในการวิเคราะห์เพิ่มเติม เรื่องเด็กและเยาวชนที่มีพฤติกรรม DMH น้อยกว่ากลุ่มอื่นทำให้มีการติดเชื้อมากกว่ากลุ่มอื่นหรือไม่ และประเด็นติดโควิดแล้วความกังวลลดลงหรือไม่มีพฤติกรรมการป้องกันตนเองที่ลดลงหรือไม่ - ให้คลัสเตอร์วัยเรียนสร้างการรับรู้ และสร้างความตระหนัก โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กนักเรียน (<15 ปี ) ให้มีการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันตนเองและสื่อสารเน้นย้ำเรื่องของการฉีดวัคซีน และการล้างมือ โดยมีช่องทางการสื่อสารที่เหมาะกับเด็ก สามารถซักถามแลกเปลี่ยน ตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนถึงขั้นบอกต่อได้ เป็นการประยุกต์หลักการความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อให้คงมีพฤติกรรมการป้องกันตนเองอย่างต่อเนื่อง -ให้ศูนย์อนามัยนำผลจากการเฝ้าระวังพฤตกรรมไปใช้ประกอบการวางแผนและรณรงค์ให้ประชาชนมีพฤตกรรมป้องกันโรคเพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง รวมทั้งคืนข้อมูล เพิ่มการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายในพื้นที่ให้มากขึ้น -ให้กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพควรสร้างการรับรู้ ความตระหนักมีพฤติกรรมป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง |
อนามัยโพล
คลัสเตอร์วัยเรียน
ศูนย์อนามัยทุกแห่งและสสม.
กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ |
|
หน่วยงานรับทราบ
หน่วยงานรับทราบ
หน่วยงานรับทราบ
ดำเนินการตามข้อสั่งการ | ||
3. การเผยแพร่ข่าวประจำวันผ่านสื่อมวลชน (โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และสื่อออนไลน์) 5 – 11 กันยายน 2565 - เน้นย้ำการดูแลสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในช่วงหน้าฝน และการดูแลสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่น้ำท่วมและการจัดการหลังน้ำลด | รับทราบ | - | - | หน่วยงานรับทราบ | |
4. การรายงานสถานการณ์อุทกภัย ที่ประชุมมีข้อเสนอต่อการพิจารณาเปิดศูนย์บัญชาการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม รองรับสถานการณ์อุทกภัย ดังนี้
- Lag : เร่งเข้าช่วยเหลือประชาชนอย่างรวดเร็วและทันท่วงที เพื่อลดความล่าช้าของการเข้าช่วยเหลือประชาชน - Lag : เร่งเข้าช่วยเหลือประชาชนอย่างรวดเร็วและทันท่วงที เพื่อลดความล่าช้าของการเข้าช่วยเหลือประชาชน - Gap : ช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยที่ยังไม่ได้รับความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง โดยเฉพาะในส่วนที่หน่วยงานเข้าไม่ถึงทั้งในเชิงกลุ่มคน กลุ่มเปราะบาง และเชิงพื้นที่ - On Top: มอบสิ่งสนับสนุนด้านสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเติมเต็มสิ่งสนับสนุนที่นอกเหลือจากหน่วยงานอื่นให้การช่วยเหลือไปแล้ว โดยกรมอนามัยเน้นการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการด้านสุขาภิบาล การสร้างเสริมสุขอนามัยที่ดี ทั้งนี้ ขอให้เจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยในฐานะเป็นหน่วยงานกรมอนามัยที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ประสบภัยใช้แนวทางดังกล่าวในการปฏิบัติงานถือว่าเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ในการทำงานในภาพรวมของกรมอนามัย 4. เตรียมรายละเอียด ความต้องการสิ่งสนับสนุนภารกิจต่อสถานการณ์สาธารณภัยและภัยพิบัติ เพื่อเสนอคำของบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ในขอบเขตของกรมอนามัย ที่บริการประชาชนและช่วยเหลือพื้นที่ | คณะทำงานกล่องภารกิจที่เกี่ยวข้องภายใต้การบริหารจัดการของ โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบภัยนั้น เป็นเจ้าภาพ
|
| หน่วยงานรับทราบ
| ||